ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. นุภาวัฒน์

    นุภาวัฒน์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    774
    ค่าพลัง:
    +270
    ว่าจะไม่โพสต์บอก พอดีเช้ามาทำงานก็เลยบอกบุญเพื่อนร่วมงาน ได้มาทั้งหมด 1,057 บาท โอนโดยภานุวัฒน์ คำทัศน์ ขอขอบคุณเพื่อนชาวเทศบาลตำบลบางม่วง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ที่ร่วมบุญในครั้งนี้ โอนเข้าบัญชี ธนาคารกรุงศรี สาขาถนนวิภาวดีรังสิต อ.ประถม หมายเลขบัญชี 348-1-23245-9
     
  2. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    ขอร่วมโมทนาบุญทั้งหมดทั้งมวลด้วยครับ
     
  3. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    ทางคณะกรรมการขอโมทนาบุญกับคุณ นุภาวัฒน์ ด้วยครับ
    สาธุ สาธุ สาธุ

    [​IMG]
     
  4. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    918
    ค่าพลัง:
    +4,293
    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      129.1 KB
      เปิดดู:
      1,461
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      119.5 KB
      เปิดดู:
      1,476
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ประมวลภาพ “หลวงปู่ท่อน ญาณธโร”

    วัดศรีอภัยวัน
    บ้านหนองมะผาง ต.นาอ้อ อ.เมือง จ.เลย


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]




    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]

    หลวงปู่ท่อน ญาณธโร กำลังลงยันต์กระดานชนวน




    [​IMG]

    ภาพอัศจรรย์ “องค์พระ กับ หลวงปู่ท่อน ญาณธโร”

    [​IMG]

    หลวงปู่สาย เขมธัมโม กับ หลวงปู่ท่อน ญาณธโร

    [​IMG]

    [​IMG]

    หลวงปู่ท่อน ญาณธโร กับ หลวงพ่อคูณ สุเมโธ

    [​IMG]

    หลวงพ่ออินทร์ถวาย สนฺตุสฺสโก-หลวงปู่บุญเพ็ง กัปปโก
    และหลวงปู่ท่อน ญาณธโร




    http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=38&t=22879
     
  6. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ขออนุโมทนาบุญด้วยครับ<!-- google_ad_section_end -->
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    เมื่อวานคณะทุนนิธิฯ ได้มีการประชุมเพื่อกำหนดกิจกรรมประจำเดือนกรกฎาคม 2552 ไว้คร่าวๆ ท่ามกลางสายฝนโปรยปราย ประชุมไปคุยไป และกินไป มีทั้งข้าวเหนียวทุเรียน ข้าวผัดปูเนื้อเป้งๆ ข้าวเกรียบปากหม้อญวน กุ้ยช่าย หลากรส ไก่ย่างฯลฯ ที่จัดเตรียมมาโดยน้อง แมวหลวง (katicat) เลยได้ทั้งอรรถรสทั้งรสชาดอิ่มท้อง อิ่มความรู้ ทั้งทางโลก ทางธรรม และเหนือโลก หลายประเด็น เริ่มประชุมและคุยตั้งแต่บ่ายโมง เสร็จเอาตอนหกโมงครึ่ง ฝนตกหนักมาก สุดท้ายพี่ใหญ่หันมาบอก อีก 15 นาที ฝนหยุดตก สักพักประมาณนั้น ฝนค่อยๆ ขาดเม็ด จึงทยอยกลับบ้านกัน โดยสาระเบื้องต้นพอที่จะแจ้งให้ทราบคร่าวๆ ดังนี้

    1. กำหนดการจัดกิจกรรมในเดือนนี้คือวันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม
    2. รายละเอียดการบริจาคปัจจัยให้ รพ.ทั้ง 7 แห่ง อย่างละเอียดจะแจ้งให้ทราบอีกครั้งในวันเสาร์นี้
    3. กิจกรรมคราวนี้จะมีการแจกพระที่อาจารย์ประถมฯ บอกว่าทำด้วยปูนหอย ผสมว่านสบู่เลือด เนื้อออกสีแดง ขอบารมีเสกจากคณะหลวงปู่บรมครูพระธรรมฑูตเทพโลกอุดรโดยผมเอง ตรวจเช็คโดยพี่ใหญ่ และอาจารย์ประถมฯ เช็คกัน สองรอบ พี่ใหญ่บอกปกติปูนหอยเทพจะไม่มาสถิตย์แต่คราวนี้พลังของท่านมาครอบไว้ โดยจะทำการแจกให้ผู้ที่ไปร่วมงานคนละองค์ โดยลักษณะของพระจะมีคราบกรุเยอะ เปราะและหักง่าย จึงต้องนำไปเผื่อมากหน่อย โดยตอนขอบารมีเสก ผมยกไปทั้งไหโบราณที่บรรจุท่านอยู่ คิดว่าคราวนี้พอแจกได้สบายๆ
    4. หลังจากแจกพระเสร็จคณะทุนนิธิฯ ที่รวบรวมไว้ จะเดินทางไปกราบพระอริยสงฆ์ผู้ซึ่งได้ชื่อว่ามีพลัีงจิตที่แข็งแกร่งมากรูปหนึ่งคือท่าน อ.อุทัย สิริธโร แห่งวัดป่าเขาใหญ่เจริญธรรม ญาณสัมปันโน จ.นครราชสีมา ซึ่งเป็นหนึ่งในลูกศิษย์ของหลวงตามหาบัวที่ท่านการันตี ซึ่งตอนนี้ได้คนไป 1 รถตู้แล้ว พร้อมกับรถติดตามอีก 2-3 คัน (หากใครอยากไปเพิ่มก็ลอง pm เข้ามาก็แล้วกันเผื่อรวมกันได้อีก 1 คัน) โดยจะไปกราบท่าน พร้อมทั้งถวายสังฆทาน และสนทนาธรรมกับท่าน (ผมจะแอบนำพระเครื่องไปขอบารมีท่านให้พิจารณาด้วยล่ะ) เสร็จแล้วขากลับจะได้กลับมาทำบุญและเที่ยวชมที่พระฉาย จ.สระบุรีโดยจะให้พี่ใหญ่เล่าประวัติอันพิสดารให้ฟัง ค่าใช้จ่ายทุกอย่างหารเท่าๆ กัน ทั้งเด็กและผู้ใหญ๋ครับ

    ที่ประชุมเมื่อวานคร่าวๆ ก็มีประมาณนี้ เพราะมีบางเรื่องเหนือโลก ไม่สามารถเคาะแป้นพิมพ์ได้ทั้งหมด สัปดาห์นี้ก็คงจะต้องสอบถามไปตาม รพ.ต่างๆ ถึงเรื่องสถานการณ์ของพระสงฆ์ที่มารักษาตัวว่ามีมากน้อยประการใด และแนวโน้มจะเป็นอย่างไร ก่อนมาประเมินความช่วยเหลือให้เหมาะสม ซึ่งจะสรุปแจ้งให้ทราบในวันเสาร์นี้อีกครั้งหนึ่งครับ ส่วนโครงการส่งฆราวาสเข้าฝึกกรรมฐานที่วัดใน จ.ระยอง ก็คงจะเริ่มทำเป็นโครงการจะดีกว่าทยอยไป สัปดาห์นี้คงได้ไปคุยกับพระอาจารย์เช่นกัน ใครอยากได้บุญใหญ่จากการนั่งกรรมฐาน 1, 2 หรือ 3 วันอดใจรอไว้ จะทำโครงการให้ครับ...

    พันวฤทธิ์
    13/7/52


    <table class="attachtable" align="center" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="95%"> <tbody><tr> <td colspan="2" align="center">
    [​IMG]

    </td> </tr> </tbody></table> <table class="attachtable" align="center" border="0" cellpadding="2" cellspacing="0" width="95%"> <tbody><tr> <td colspan="2" align="center">
    [​IMG]

    </td> </tr> </tbody></table> <hr> พระอาจารย์อุทัย สิริธโร


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กรกฎาคม 2009
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="833"><tbody><tr> <td colspan="4"> ลองฟังเทศน์จากท่านดูเอาเองครับ แล้วจะรู้ว่าน่าไปกราบท่านขนาดไหน และทำไมท่านหลวงตาฯ ถึงการันตีท่าน

    talk.html

    [​IMG]</td> </tr> <tr> <td colspan="4"><!-- #BeginLibraryItem "/Library/nav_bar.lbi" -->[​IMG] <map name="Map" id="Map"> <area shape="rect" coords="34,1,126,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/index.html"> <area shape="rect" coords="125,1,222,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/wathistory.html"> <area shape="rect" coords="221,1,372,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/ajbio.html"> <area shape="rect" coords="370,1,487,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/teaching.html"> <area shape="rect" coords="487,1,572,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/talk.html"> <area shape="rect" coords="571,1,667,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/misc.html"> <area shape="rect" coords="666,1,746,28" href="http://www.lp-uthaiphuwua.com/contact.html"> </map> <!-- #EndLibraryItem --></td> </tr> <tr> <td width="34">











    </td> <td align="left" bgcolor="#e3e4dc" height="294" valign="top" width="550">


    แผ่นวีซีดีเทศน์ หลวงปู่อุทัย สิริธโร ​
    <table align="center" border="1" width="152"> <tbody><tr> <td width="68">
    [​IMG]
    </td> <td height="64" width="68">
    [​IMG]
    </td> <td width="68">
    [​IMG]
    </td> </tr> <tr bgcolor="#85a157"> <td class="style55" height="68"></td> <td bordercolor="#000000" class="style55"></td> <td class="style55"></td> </tr> </tbody></table>
    แผ่นเทศน์ MP3 หลวงปู่อุทัย สิริธโร ​
    <table align="center" border="1" width="280"> <tbody><tr> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> <td class="style53">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table align="center" border="1" width="250"> <tbody><tr> <td class="style53" width="60">[​IMG]</td> <td class="style53" width="60">[​IMG]</td> <td class="style53" width="60">[​IMG]</td> <td class="style53" width="42">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table>
    กดเพื่อดาวน์โหลด MP3 เทศน์ของหลวงปู่อุทัย สิริธโร ​
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="462"> <tbody><tr> <td class="style4" align="center" bgcolor="#85a157" width="379"> ชื่อเรื่อง </td> <td align="center" bgcolor="#85a157" width="83">รูปแบบ</td> </tr> <tr> <td class="style62">บุญ คือความสุขสมบูรณ์ในชีวิต - คนเข้าวัดต้องเป็นเรื่องของคนเฒ่าจริงๆหรือ? สาวๆ อย่าทำตัวเป็นหนูวิ่งไปหาแมว อย่าคิดว่าใช้สิทธิ์ที่ก่อให้เกิดโทษภายหลัง </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td>หลวงปู่ตอบคำถามเรื่่อง จิตคิดไม่ดี- ฌาณ ๔ - การอุทิศบุญมีวันหมดหรือไม่</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style65">พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนอะไรในวัน "มาฆบูชา</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">เวันจากกรรมชั่่วด้วยกาย-วาจา-ใจทำให้จิตมีสมาธิและปัญญาอันชอบยิ่งขึ้น </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">มรรคคือการแต่งกายวาจาใจให้อยู่ฝ่ายศีลสมาธิปัญญาไม่ใช่ฝ่ายกิเลสตัณหา </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">ใจดีใจมีความสุขหน้าสดชื่น ยิ้มแย้มแจ่มใสได้จากจิตใจที่ฝึกมาดี </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">การตั้งใจภาวนาก็คือการตั้งสติตั้งใจออกจากกิเลสตัณหา </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> กรรมฐาน5 เจริญเพื่อดับกิเลสตัณหาราคะเมื่อเห็นตามความเป็นจริงว่าร่างกาย ไม่สวยไม่งามไม่สะอาด </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">ฝึกจิตว่าง ด้วย - การละ - การปล่อย - การวาง (ธรรมะอย่าง สั้นๆ) </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">อนุสสติ๑๐ ของผู้ปฏิบัติ สร้างความยินดีในเหตุผลแห่งการเป็นผู้มีศีลธรรม</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">กรรมฐานคือที่ตั้งของปัญญาที่ได้รู้ได้เห็นตามความเป็นจริงว่าร่างกายเป็น ทุกข์ เป็นรังแห่งโรคทั้งหลาย จนเกิดหิริโอตัปปะธรรม </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">สัญญาจะเป็นปัญญาแก่กล้าได้ด้วยพลังของสมาธิจิตที่ตั้งมั่นอยู่กับใจที่รู้ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">ปล่อยใจไปตามกำลังกิเลสตัณหาฝ่ายขั่วจะนำพาให้คนเรามีความดีน้อยลง</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">คนบาปมากคือคนที่ความดีรั่วไหลออกไปหมดเหมือนหม้อไห ที่รั่วใส่น้ำบ่ได้</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">เพราะชาติความเกิดเป็นทุกข์นักปฎิบัตืพึงสำรวมระวังจิตใจให้หลีกออกจาก กิเลสกาม - ตือ กามตัณหา
    </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> ตอบปัญหาธรรม -คนเราทุกคนมีความดีต่างกันอยู่ ให้สามัคคีกันดีกว่า
    </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> ความสงบเกิดจากจิตใจที่มีศีลธรรม-สมาธิธรรม เป๊นเครื่องยึดเหนี่ยวไว้เป็น อารมณ์ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> ให้พึงรักษามโน-สมบัติและมนุษย์์สมบัติ ด้วยการเจริญพรหมวิหาร4 และ ความเป็นผู้มีศีลมีธรรม
    </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">หลวงปู่อุทัย สิริธโร พาญาติโยมสวดมนต์ทำวัตรเย็น - อนัตตลักขณะสูตร</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> สมาธิจะเกืดจากความตั้งมั่นอยู่ในศีล-ธรรม,ความสงบ-ความสบาย </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> ความโลภโกรธหลงเป็นต้นเหตุให้เกิดปัญหา-ตัณหาในทางผิดพาให้เราทุกข์</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">การฝึกจิตใจให้เป็นอิสระด้วยศีล--สติ-สมาธิธรรมนำให้เกิดปัญญา</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> หลวงปู่อุทัย สิริธโร พาญาติโยมสวด - ชียยะ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62"> หลวงปู่อุทัย สิริธโร พาญาติโยมสวดมนต์ทำวัตรเช้า</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62"> หลวงปู่อุทัย สิริธโร พาญาติโยมสวดมนต์ทำวัตรเย็น - ธรรมจักรฯ</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> กาลเข้าพรรษามุ่งหน้าเข้าหาความดี(ศีล)สมาธิตั้งใจมั่น ปัญญาคือแสงสว่าง</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> หลวงปู่เทศน์ อาทิตตปริยายสูตร - อบรมนั่งสมาธิต่อ 3 เม.ย.51 </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> วินัยคือข้อบังคับให้คิด-พูด-ทำในสิ่งที่ดีบังคับไม่ให้คิด-พูด-ทำในสิ่งที่ไม่ดี</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> การได้เกิดมาเป็นมนุษย์นั้นสุดแสนยาก-งานครบรอบวันเกิดลป.บุญเพ็ง ฯ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> เทศน์เรื่องการฝึกสมาธิ หลักการปฏิบัติอบรมสมาธิ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> พระวินัยคือข้อปฏิบัติของพระพุทธเจ้า-ข้อฝึกฝนให้รู้อะไรควรมิควร-พีชคาม</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">การปฏิบัติแบบเอาศีลเอาธรรมเป็นรากฐาน-โสดาบันบุคคล - งานวัดอโศกฯ</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">อบรมคณะพยาบาลม.มหิดล- ตอบปัญหาวัยรุ่นเข้าวัดล้าสมัย บ่ ? 25เมย.51 </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">อบรมคณะพยาบาลม.มหิดล-ศึกษาทางโลกขาดทางธรรมเหมือนมีขาเดียว</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">จิตใจของคนเรานะไม่เคยแก่ - ไม่เคยตาย </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">พิจารณาให้เห็นความตายเป็นธรรมดา - โกหกเพราะเจ้านายผิดไหม ? </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">วิริยธรรม !ความเพียร นั้นทำได้ยาก ต้องมีอุตสาหธรรมและขันติธรรม !</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">ยึดหลักศีลธรรมเป็นเครื่องวัดความผิดความถูกอย่าให้กิเลสมาเป็นเครื่องวัด</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">สมาธิธรรมนะเกิดขึ้นจากการตั้งมั่นอยู่ในขอบเขตของศีล - วินัยธรรมนีหละ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">มนุษย์นะเกิดมาบุญมากบาปน้อยคือ"มีสุมบัติ"บุญน้อยบาปมากคือ"มีวิบัติ" </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">สุขเพียงภายนอกเป็นเพียงเครื่องอาศัย-สุขจากภายในศีลธรรมนำสุขสูงสุุด</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">หลวงปู่สรวง สิริปุญโญตายแล้วฟื้น เล่านรก-สวรรค์ (ภาษาไทยกลาง) </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">พระสงฆ์สวด-เจริญพระพุทธมนต์ ในงานคล้ายวันเกิด หลวงปู่ อุทัย สิริธโร </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> หลวงปู่ อุทัย ฯ ตอบปัญหา เรื่องของ "กิ๊ก" </td> <td class="style25"> </td> </tr> <tr> <td class="style25">จงใช้สิทธิของตนในทางที่ถูกที่ควร ในวัน - วาเลนท์ - วาเลอะ - วาเลิก..? </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style62">ศีลธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเท่านั้นที่เป็นเครื่องส่งเสริมให้จิคใจมีกำลัง</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ภพภูมิการเกิด-ตายที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเอาไว้มีทั้งหมดมี ๓๑ ภูมิ</td> <td class="style25">
    </td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๑ "ภพภูมิของมนุษย์ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงเอาไว้ " </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๒ "ภพภูมิของเทวดาที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงเอาไว้ " </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๓ "อบายภูมิ ๔" - อสูรกาย - เปรต --สัตว์เดรัจฉาน </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25" height="17">ลำดับที่ ๔ "ลป.อุทัยฯเทศน์"นรก" กิ๊กเธอ กิ๊กฉัน กิ๊ก กันใน"หลุมเพลิง !" </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๕ "โลกันตร์ นรก "</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๖ "พรหมโลก"</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ลำดับที่ ๗. "พรหมโลก" (ตอนจบ)</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">แฟสั้น รัดติ้ว สั้นเต่ออย่าเผลอใส่อย่าใช้สิทธิ์์ตนเองให้เกิดโทษ-ปัญหา </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">การรักษาศีล-สมาธิสวดมนต์ภาวนาคือความสุข-ความดีที่เราระลึกได้ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ฉันทะธรรม - ความอยากที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ฝึกจิตใจที่คิดไม่ดีให้เป็นสัมมาทิฏฐิ_ คิดดี ดำริชอบ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25"> ฝึกใจให้มีสติปัญญาเพื่อปล่อยวางอารมณ์ที่ไม่ดีออกจากจิตใจ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">กิเลส-ตัณหา พาให้เราทุกข์ ศีล - สมาธิ- ปัญญาพาเราสุข </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">สติธรรม-สมาธิธรรมอ่อนแอเพราะขาดการดูแลจิตใจ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ร้จักตน - พึงรู้จักหน้าที่ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">จดมุ่งหมายของการฟังเทศน์ฟังธรรม-อบรมเยาวชน 1ุ6ก,พ,51 </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ให้เห็นโทษฃองอบายมุฃทางแห่งความเสื่อม ๖ อย่าง</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">มนุษย์สมบัติ - สวรรค์สมบัติ - นิพพานสมบัติ</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">สติ-สัมปชัญญะ เป็นเครื่องนำใจแห่งการรู้ตัว </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ความสงบของจิตใจเกิดจากวิถีจิตที่เป็นกุศลธรรม</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">การแต่งจิตใจ -แต่งกาย- แต่งวาจา เป็นการก้าวเดินเข้าสู่มรรคผล </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ธรรมะเบื้องต้นสำหรับผู้ศึกษาธรรมปฏิบัติใหม่ๆ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">กิเลส - ตัณหา อยู่คนละฟากฟ้ากับความดีมีศีลธรรม </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ความฉลาดเกิดจากความเอาใจ-ใส่ใจ-ตั้งใจ </td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ไม่ว่า ฆราวาส-ภิกษุ เณร-ชี ใครผิดศีลมีโทษเป็นบาป มีทุกข์เป็นผล</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">พระพุทธเจ้าเป็นครูผู้ฝึกสอนความดีต่อมนุษย์ เทวดา อินทร์พรหม</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">การทำใจให้ว่าง - การปล่อยวางเป็นอุเบกขา คือสติ-ปัญญาของผู้ภาวนา</td> <td class="style25"></td> </tr> <tr> <td class="style25">ิธรรม สมาธิธรรม นำให้เกิด " สติ-ปัญญาธรรม " </td> <td class="style25"></td></tr></tbody></table>​
    </td></tr></tbody></table>
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    นำมาลงให้ทราบอีกครั้งถึงความสัมพันธ์ของท่านกับหลวงตาฯ

    เหรียญหลวงตามหาบัวรุ่น"เจดีย์มหามงคล"

    [​IMG]
    <!-- index2.jpg [ 50.68 KiB | เปิดดู 659 ครั้ง ] -->



    <!--แนบไฟล์:
    <div class="attachcontent">--> [​IMG]
    <!-- index1.jpg [ 41.57 KiB | เปิดดู 660 ครั้ง ] -->



    เหรียญหลวงตามหาบัวรุ่น"เจดีย์มหามงคล"

    เหรียญรุ่นนี้ประวัติจากหลายแหล่งมีความขัดแย้งกันบคือ บ้างก็ว่าหลวงตาเต็มใจ
    บ้างก็ว่า ผู้สร้างถูกหลวงตาไล่ลงแต่สุดท้ายหลวงพ่อทุยก็นำขึ้นไปถวายหลวงตาอธิษฐานได้
    ผมเองไม่อาจสืบได้ว่าเป็นอย่างไรแน่แม้จะมีญาติ
    อยู่ภาวนาประจำที่วัดป่าบ้านตาด เพราะเป็นการภายในจริงๆ
    การที่หลวงตาจะอธิษฐานอะไรให้ใคร ไม่มีหรอกครับที่มีพยานตอนอธิษฐานเป็นสิบ
    ยกเว้นพิธี60ปีธรรมศาสตร์ พระกริ่งกองบิน พิธีวัดเจดีย์หลวง ฯลฯ
    ถ้าเป็นรูปท่านเป็นการภายในทั้งสิ้น
    แม้แต่พระในวัดเองบางองค์ยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่ามีเหรียญรุ่นนี้(ตอนแจกใหม่ๆ1-2เดือนแรก)

    แต่จากข่าวทุกแหล่งตรงกันว่า หลวงตาเสก ให้แล้วแน่นอน100%
    ที่ใช้คำว่าเสกเพราะ หลวงพ่ออุทัย สิริธโร วัดเขาใหญ่เจริญธรรม(เดิมอยู่วัดภูวัว)
    เป็นผู้กล่าวไว้ตอนแจกว่า

    "นี้เหรียญหลวงตา เก็บไว้ดีๆนะ ของค้ำของคูณ(ค้ำชูอุดหนุน)
    ขออนุญาตหลวงตา หลวงตาอนุญาต แล้วก็เสกให้ด้วย"


    ผมยืนยันว่า หลวงพ่ออุทัยพูดเองจริงๆและท่านใช้คำว่า เสก ไม่ใช่แผ่เมตตาหรืออธิษฐานจิต
    และที่หลวงปู่ฟักท่านก็เลือกแจก เอาเป็นว่าจะขอพระหินหยกจากท่านง่ายกว่าเหรียญรุ่นนี้เยอะครับ
    หรือหลวงปู่ลี ผาแดงที่ สั่งให้ตามทหารมารับพระรุ่นนี้จากท่าน
    ดังนั้นพระรุ่นนี้ที่อยู่กับท่านจึงตกอยู่กับทหารเป็นส่วนมาก

    ทุกแหล่งข่าวตรงกันว่า หลวงพ่อทุย วัดด่านวิเวก
    เป็นผู้นำขึ้นไปถวายหลวงตาอธิษฐาน
    (ที่จริงตั้งแต่การสร้างแล้วที่หลวงตาสั่งให้ท่านทุยเป็นผู้กำกับดูแลจะได้ไม่รั่วไหล)
    จากหนึ่งในหลายแหล่งข่าวกล่าวว่า

    ตอนนำขึ้นไป หลวงตาท่านสั้งให้เอาเข้าไปไว้ในห้องนอนท่าน
    หลังจากเสกเสร็จมีแต่คนรุมจะขอหลวงตาท่านเลยไล่โยมลงจากกุฏิ
    และท่านได้บอกหลวงพ่อทุยว่า

    ผมตั้งใจอธิษฐานให้ หากใครเอาไปเคารพกราบไหว้บูชา
    ก็จะมีสิริมงคลเกิดขึ้น หากใครเอาไปซื้อไปขายจะหาความเป็นมงคลไม่ได้เลย
    เรื่ิองการแจกให้ท่าน(ทุย)เป็นผู้พิจารณานะ


    พระชุดนี้กระจายไปในสายกรรมฐานเป็นส่วนมาก แต่ก็ได้รับแจกแต่ละองค์น้อยมาก
    มากที่สุดมี5องค์คือ
    หลวงพ่อทุย วัดด่านวิเวก
    หลวงพ่อสุธรรม วัดหนองไผ่
    หลวงพ่ออินทร์ถวาย วัดป่านาคำน้อย
    หลวงปู่ลี วัดผาแดง
    หลวงพ่อวันชัย วัดภูสังโฆ
    องค์ละ2,000เหรียญ(พระพุทธและรูปหลวงตาอย่าละ1,000)

    นอกนั้นได้ตั้งแต่100-1,000เหรียญ

    และผมเชื่อว่าพระชุดนี้ต่อไปจะเป็นของหลักของหลวงตาอย่างแน่นอน
    แค่ตอนนี้ราคาก็ถีบตัวสูงขึ้นจนน่าใจหายแล้วครับ
    ใครมีก็เก็บเงียบ
    เห็นประมูลกันในwebอื่น ขึ้นไปเหรียญละ10,000บาท

    ขอให้ทุกท่านที่ศรัทธาในหลวงตาบัวโชคดีได้รับเหรียญนี้ทุกคน


    เนื่องจากมีลูกศิษย์หลวงพ่อทุยได้อ่านบทความนี้และได้กรุณาแจ้งมาว่า
    มีความคลาดเคลื่อนในเนื้อหาบางส่วนผมจึงได้ลงบทต่อท้ายดังนี้

    พระชุดนี้ทั้งหมดได้รับการอธิษฐานจิตจากหลวงตาแน่นอนแล้ว
    โดยพระทั้งหมดได้รับการอธิษฐานที่บ้านของเสี่ยสมหมาย
    แห่งโรงสีบัวสมหมาย จ.ร้อยเอ็ด เมื่อราวปีที่แล้ว
    โดยเสี่ยสมหมายเป็นผู้อาราธนาหลวงตา ขอเมตตาอธิษฐานจิต
    และเนื่องจากเสี่ยสมหมายมีความเคารพในหลวงพ่อทุยมากจึงได้
    ถวายเหรียญเกือบทั้งหมดให้หลวงพ่อทุยเป็นผู้พิจารณาแจกและบรรจุเจดีย์
     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    สำหรับผู้ที่มาเยี่ยมชมกระทู้นี้ในครั้งแรก ลองเข้าไปเลือกอ่านหัวข้อตามนี้ก่อนครับ คลิกตามสารบัญ

    [​IMG]
    [​IMG]

    <table cellpadding="3" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="80"> [​IMG]
    </td> <td valign="top"> ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ
    ด้วย ในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์ ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ผู้เขียน: pratomfoundation ชมแล้ว: 165,521 ครั้ง
    post ครั้งแรก: Thu 7 February 2008, 3:43 am ปรับปรุงล่าสุด: Fri 10 July 2009, 8:47 am
    อยู่ในส่วน: พักผ่อนหย่อนใจ, วิชาการ.คอม, สุขภาพ, สุขภาพทั่วไป, โรคภัยไข้เจ็บ, อาหารการกิน, กิจกรรมพิเศษ, ศาสนา
    <input value="article" type="hidden"> <input value="34941" type="hidden"> <input value="vblog" type="hidden">

    </td> </tr> </tbody></table>สารบัญ
    1-20 | 21-40 | 41-60 | 61-80 | 81-100 | 101-120 | 121-140 | 141-141

    หน้า : 1 บทนำ
    หน้า : 2 จุดเริ่มต้นและแนวทางการดำเนินงาน
    หน้า : 3 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน ธันวาคม 2550
    หน้า : 4 พี่ใหญ่ฝากมา...
    หน้า : 5 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน ธันวาคม 2550 #1
    หน้า : 6 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จกรุบางน้ำชน (ปีระกาป่วงใหญ่)
    หน้า : 7 ความรู้ปู่ให้มา..พระสมเด็จปูนสอ "สมเด็จอัศนี"
    หน้า : 8 พระท่าดอกแก้วที่ อ.ประถม อาจสาครสร้าง
    หน้า : 9 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน มกราคม 2551
    หน้า : 10 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2551 #2
    หน้า : 11 ความคืบหน้าและยอดเงินบริจาค ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2551
    หน้า : 12 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 #3
    หน้า : 13 การไหว้ 5 ครั้ง (ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณวรเถร ) วัดเทพศิรินทราวาส
    หน้า : 14 แจ้งกำหนดการร่วมทำบุญเดือน มีนาคม
    หน้า : 15 ภาพพระโลกอุดรที่เรียกว่า "กรุเก่า"
    หน้า : 16 ใบเสร็จรับเงินที่ไปทำบุญมาเมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 17 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4
    หน้า : 18 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2551 #4 หน้า 2
    หน้า : 20 "กระดูก 300 ท่อน" สุดยอดธรรมจากหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร
    หน้า : 21 ย้อนหลังกลับมาคุยถึงเรื่อง พระกำลังใจ 2

    หน้า : 22 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 1
    หน้า : 23 ชนวนที่ใช้ในการสร้างพระกำลังใจ 2 หน้าที่ 2
    หน้า : 24 สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อวันนี้ 10 เมษายน 2551
    หน้า : 25 ใบโมทนาบัตรเมื่อคราวไปทำบุญเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2551
    หน้า : 26 สรุปรายการพระที่นำมามอบให้เป็นสำหรับผู้ร่วมทำบุญกับทุนนิธิ ฯ
    หน้า : 27 บรรยากาศแบบไทย ๆ ณ บ้านอาจารย์ประถม อาจสาคร ร่วมกับ คณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 28 พระอีกรุ่นหนึ่งที่เป็นพระที่ อ.ประถมฯ สร้างไว้...
    หน้า : 29 คำบอกเล่าเกี่ยวกับกิจกรรมทำบุญครั้งที่ 5 ของทุนนิธิฯ...จากประธานทุนนิธิฯ
    หน้า : 30 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5
    หน้า : 31 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน เมษายน 2551 #5-2
    หน้า : 32 รูปขณะที่ทางประธานทุนนิธิฯและคณะกรรมการได้นำกระเช้า ไปกราบเยี่ยมอาการผ่าตัดต้อที่ตาของ อาจารย์ประถม ที่บ้าน
    หน้า : 34 ประชาสัมพันธ์ งานบุญที่ รพ.สงฆ์ ครั้งที่ 6/51
    หน้า : 35 รายละเอียด ก่อนเริ่มการทำบุญ ในวันอาทิตย์ที่ 25/5/2551
    หน้า : 36 รายงานการถอนเงินออกมาเพื่อทำบุญ และ สรุปยอดเงินบริจาคที่ Update ยอดเมื่อ 27/05/08
    หน้า : 37 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 1
    หน้า : 38 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน พฤษภาคม 2551 #6 หน้าที่ 2
    หน้า : 39 แจ้งข่าว หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำเขาประทุน ชลบุรี ได้มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ
    หน้า : 40 แจ้งข่าวเรื่องการทำบุญ รพ.สงฆ์ ในวันที่ ๒๒/๐๖/๒๕๕๑
    หน้า : 41 ขอประชาสัมพันธ์กิจกรรมของทุนนิธิฯ วันที่ 22 มิ.ย (ครั้งที่ 7)
    หน้า : 42 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 1

    หน้า : 43 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 2
    หน้า : 44 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2551 #7 หน้าที่ 3
    หน้า : 45 ประธานทุนนิธิฯ แจ้งยอดการทำบุญในครังที่ 7 นี้ และใบเสร็จแจ้งการทำบุญ ร่วมโมทนาบุญด้วยกันครับ
    หน้า : 46 พระนาคปรกมหาลาภ
    หน้า : 47 ประชาสัมพันธ์กิจกรรมสำหรับงานบุญประจำเดือนกรกฎาคม 2551
    หน้า : 48 หลักฐานการโอนเงินเข้ากองทุนของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี และ กองทุนสงฆ์อาพาธ รพ. 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ จ.อุบลฯ
    หน้า : 49 ใบโมทนาบัตรที่ทางโรงพยาบาลสงฆ์ และของทาง รพ.50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ จ.อุบลส่งมาให้ทางทุนนิธิฯทั้งของเดือน พฤษภาคมและเดือนมิถุนายน
    หน้า : 50 การเบิก-จ่ายในงานบุญ ๒๗/๐๗/๒๕๕๑
    หน้า : 51 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 1
    หน้า : 52 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กรกฏาคม 2551 #8 หน้าที่ 2
    หน้า : 53 พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า พิมพ์ปรกโพธิ์
    หน้า : 54 ซื้อผ้ามัสสลิน ถวายเพื่อใช้เป็นเครื่องบริขารให้แก่พระสงฆ์อาพาธ ณ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
    หน้า : 55 ปุจฉา - วิสัชนา
    หน้า : 56 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #1
    หน้า : 57 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #2
    หน้า : 58 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #3
    หน้า : 59 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #4
    หน้า : 60 สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์ใหญ่และสมเด็จปัญจสิริรุ่นแรกเนื้อเก่าสวยๆ #5
    หน้า : 61 ใบโมทนาบัตรของเดือน กรกฎาคม+ยอดเงินที่เบิกออกมาใช้ในการทำบุญกับทาง รพ.สงฆ์ ในวันที่ 24 สิงหาคม 2551
    หน้า : 62 ภาพของผ้ามัสลินที่ได้จากการบริจาคของทุนนิธิ ฯ ไปใช้หอสงฆ์ที่ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น

    หน้า : 65 พระกรุวังหน้าบางส่วน
    หน้า : 66 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน สิงหาคม 2551 #1
    หน้า : 67 แจงรายละเอียดการทำบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 68 ปิดท้ายงานบุญเดือนสิงหาคม 2551
    หน้า : 69 พระพิมพ์เจ้าสัว....
    หน้า : 70 พระกรุโลกอุดร
    หน้า : 71 พระกรุโลกอุดร พิมพ์ปิดตา อรหัง
    หน้า : 72 พระสารีริกธาตุของพระพุทธปัจเจกพุทธเจ้า
    หน้า : 73 พระสกุลวังหน้า
    หน้า : 74 พระพิมพ์สกุลวังหน้า
    หน้า : 75 พระพิมพ์สกุลวังหน้า.. ต่อ
    หน้า : 76 พระพิมพ์ของบรมครูพระเทพโลกอุดร
    หน้า : 77 แจ้งข่าวเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานขั้นต่อไปของทุนนิธิ
    หน้า : 78 ทางทุนนิธิฯตั้งใจจะแจกพระให้ในเดือนนี้นั้นก็ขอเรียนชี้แจงดังนี้นะครับ
    หน้า : 79 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา
    หน้า : 80 ภาพของการรักษาผู้ป่วยของ รพ.สงขลานครินทร์ ที่เราเตรียมส่งเงินไปช่วยเหลือ
    หน้า : 81 ภาพพระ ๒๔๐๘ เพื่อการศึกษา (๒)
    หน้า : 82 ใบโมทนาบัตรของโรงพยาบาล 5 พรรษา มหาวชิราลงกรณ และโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ มาให้ได้ร่วมกันโมทนาในบุญ
    หน้า : 83 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 1
    หน้า : 84 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 2

    หน้า : 85 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 3
    หน้า : 86 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 4
    หน้า : 87 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 5
    หน้า : 88 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน กันยายน 2551 #10 หน้าที่ 6
    หน้า : 89 รายนามท่านที่บริจาคเงินสมทบเข้าทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551
    หน้า : 90 ร่วมทำบุญให้กับ รพ.แม่สอด จ.ตาก (รพ.ชายแดน)
    หน้า : 91 นำใบโอนเงินมาร่วมโมทนาบุญกับทาง ทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    หน้า : 92 ใบอนุโมทนาบัตรที่ได้รับจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ครับ โมทนาสาธุ
    หน้า : 93 การประชุมคณะกรรมการทุนนิธิฯ
    หน้า : 94 ภาพการทำบุญ รพ.สงฆ์ วันที่ 19 ตุลาคม 2551
    หน้า : 95 ภาพพระสมเด็จที่ระลึกในงานศพของคุณพ่อพี่พันวฤทธิ์
    หน้า : 96 รายงานยอดเงินที่ถอนไปทำบุญในเดือนนี้และใบขอบคุณและโมทนาบัตรของโรงพยาบาลต่างๆครับ
    หน้า : 97 สรุปผลการประชุม ๒๖-๑๐-๒๕๕๑ และแจ้งวันร่วมทำบุญในเดือน พฤษจิกายน ๒๕๕๑
    หน้า : 98 รายงานยอดเงินเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 2551 ที่ผ่านมา
    หน้า : 99 สรุปยอดบริจาคผ้าห่มให้กับโรงพยาบาลสงฆ์ที่อำเภอปัว โรงพยาบาลที่สกลนคร ของหลวงปู่แฟ๊บ และ โรงพยาบาลที่อำเภอแม่สอด
    หน้า : 100 ภาพหลวงปู่แฟ๊บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย
    หน้า : 101 รูปบรรยากาศการพบปะของลูกศิษย์และอาจารย์ ณ บ้านอาจารย์ประถม
    หน้า : 102 รูปบรรยากาศการพบปะของลูกศิษย์และอาจารย์ ณ บ้านอาจารย์ประถม ต่อ....
    หน้า : 103 ประชาสัมพันธ์เรื่องด่วนควรค่าแก่การโมทนาและสาธุบุญให้ผู้ที่บริจาคเข้าบัญชีทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธฯ
    หน้า : 104 หลักฐานการโอนเงิน และใบตอบรับ โมทนาบัตรของโรงพยาบาลต่าง ๆ ที่ทางทุนนิธิฯได้ส่งเงินไปช่วย

    หน้า : 105 มีรูปมาฝากจากแม่สอด ที่เราบริจาคเพื่อซื้อผ้าห่มให้กับ สงฆ์อาพาธและไว้ใช้ที่ รพ.แม่สอด ครับ
    หน้า : 106 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๑
    หน้า : 107 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๒
    หน้า : 108 รูปกิจกรรมทำบุญ ครบบรอบ ๑ ปี ของทุนนิธิ ธันวาคม ๒๕๕๑ #๑๒ หน้าที่ ๓
    หน้า : 109 รายงานสรุปผลารดำเนินการของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร
    หน้า : 110 พระดีที่น่ากราบไหว้
    หน้า : 111 แจ้งวันทำบุญ ในเดือนมกราคม ๒๕๕๒
    หน้า : 112 สรุปยอดเงินสำหรับเตรียมการบริจาคในวันอาทิตย์ที่ 18 มกราคมนี้
    หน้า : 113 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2552 #13 หน้าที่ 1
    หน้า : 114 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มกราคม 2552 #13 หน้าที่ 2
    หน้า : 115 กำหนดการทำบุญที่โรงพยาบาลสงฆ์ วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2552
    หน้า : 116 "พระปิยบารมีพิมพฐานบัวใหญ่" ที่ได้นำบรรจุกรุเพื่อสืบพระพุทธศาสนา
    หน้า : 117 "พระปิยบารมีพิมพ์ฐานบัวเล็ก" สำหรับแจกผู้ร่วมบริจาคทำบุญอย่างต่อเนื่องครับ
    หน้า : 118 ความเคลื่อนไหวของยอดเงินในบัญชีของทุนนิธิฯ กุมภาพันธ์ 2552
    หน้า : 119 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์
    หน้า : 120 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์ หน้าที่ 2
    หน้า : 121 ภาพกิจกรรมทำบุญของทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อาจารย์ประถม อาจสาคร ประจำเดือนกุมภาพันธ์ หน้าที่ 3
    หน้า : 122 รายละเอียดการจัดกิจกรรมทำบุญประจำเดือนในวันอาทิตย์หน้า คือวันที่ 22 มีนาคม 2552
    หน้า : 123 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 1
    หน้า : 124 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 2

    หน้า : 125 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 3
    หน้า : 126 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 4
    หน้า : 127 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 5
    หน้า : 128 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 6
    หน้า : 129 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 7
    หน้า : 130 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มีนาคม 2552 หน้าที่ 8
    หน้า : 131 สรุปผลการดำเนินงานเดือน มีนาคม ๒๕๕๒
    หน้า : 132 รายชื่อผู้บริจาค 22 มีนาคม 2552 และ ยอดเงินคงเหลือในบัญชี
    หน้า : 133 หลักฐานการทำบุญกับร.พ.ศิริราชครับ
    หน้า : 134 รายละเอียดในการทำบุญ วันที่ 26 เมษายน 2552
    หน้า : 135 หลักฐานการส่งเงินของทุนนิธิฯไปช่วยตามโรงพยาบาลต่างๆ และอนุโมทนาบัตร
    หน้า : 136 รายละเอียดการจัดกิจกรรมทำบุญประจำเดือนในวันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม 2552
    หน้า : 137 หลักฐานการโอนเงินผ่านธนาคารและทางธนาณัติส่งไปให้โรงพยาบาลทางภูมิภาคต่างๆ รวม 6 แห่งสำหรับการช่วยสงฆ์อาพาธในเดือนมิถุนายน 2552
    หน้า : 138 แจ้งข่าวงานบุญของเดือนมิถุนายน
    หน้า : 139 รายละเอียดคร่าว ๆ กิจกรรมทำบุญเดือนมิถุนายน ๒๕๕๒
    หน้า : 140 ภาพที่ทางทุนนิธิสงเคราะห์สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ได้เดินทางไปเป็นเจ้าภาพและร่วมงาน
    หน้า : 141 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 1
    หน้า : 142 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 2
    หน้า : 143 ภาพการทำบุญของ ศ.ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร ประจำเดือน มิถุนายน 2552 หน้าที่ 3
    หน้า : 144 นำบุญมาฝากจาก รพ.สมเด็จพระยุพราชปัว อ.ปัว จ.น่าน

    หน้า : 145 ใครอยากมีตังค์ใช้ไม่ขาด....โปรดอ่านด่วนครับ
    <input name="cur_content" id="cur_content" value="141" type="hidden">



    หน้าที่ 1 - บทนำ


    [​IMG]


    ด้วยในปัจจุบันพระภิกษุสงฆ์อาพาธตามโรงพยาบาลต่างๆ เช่น รพ.สงฆ์
    ยังคงมีอยู่เป็นจำนวนมาก พระสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็นเนื้อนาบุญของเรา
    ดังคำกล่าวที่ว่า"ผู้ใดปราถนาจะอุปปัฏฐากเราตถาคต ผู้นั้นพึงรักษาภิกษุป่วยไข้"
    ด้วยเหตุและปัจจัยแห่งเนื้อนาบุญอันมีอานิสงส์ที่ประมาณมิได้นี้ ประกอบกับเป็นการเชิดชู
    ครูอาจารย็ที่ได้อบรมความรู้ และถ่ายทอดประสบการณ์ในเรื่องอภิญญาจิต และความรู้เรื่องพระพิมพ์
    สกุล วัดพระแก้ววังหน้า พระพิมพ์สกุลบรมครูเทพโลกอุดรของ ท่าน อ.ประถม อาจสาคร
    กระผมและคณะจึงได้ก่อตั้งกองทุนขึ้นมาในรูปแบบของทุนนิธิ เพื่อรวบรวมเงินบริจาค
    ที่จะได้มานำไปบริจาคให้หรือรักษาไข้แก่พระภิกษุสงฆ์อาพาธที่ยากไร้ ตามโรงพยาบาลต่างๆ
    หรือบำรุงศาสนกิจที่จำเป็นตามที่คณะกรรมการของกองทุนจะได้พิจารณาขึ้น ดังนั้น กระผมและคณะ
    จึงใคร่ขอเชิญชวนทุกท่านที่ได้อ่าน ได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือพุทธศาสนา ด้านการรักษาสงฆ์
    หรือศาสนกิจอื่นๆ




    บัญชี
    "ศ. ทุนนิธิสงเคราะห์ สงฆ์อาพาธ อ.ประถม อาจสาคร" (pratom foundation)
    บัญชีธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาถนนวิภาวดีรังสิต (ซันทาวเวอร์ส)
    บัญชีออมทรัพย์ หมายเลข 348-1-23245-9



     
  11. chanunnon

    chanunnon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    185
    ค่าพลัง:
    +755
    ขออนุโมทนาในเจตนาดีแห่งการจัดตั้งกองทุนนี้ขึ้นค่ะ อย่างไรเสียนัทเองจะไม่พลาดโอกาสที่จะได้ร่วมทำบุญกับทุกท่านที่มีเจตนาเป็นกุศลนี้ค่ะ สาธุค่ะ
     
  12. aries2947

    aries2947 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    2,031
    ค่าพลัง:
    +11,622
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 12"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 12"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CPipAt%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves>false</w:TrackMoves> <w:TrackFormatting/> <w:DoNotShowRevisions/> <w:DoNotPrintRevisions/> <w:DoNotShowMarkup/> <w:DoNotShowComments/> <w:DoNotShowInsertionsAndDeletions/> <w:DoNotShowPropertyChanges/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:21.3pt 36.0pt 36.0pt 36.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]
    <!--[endif]-->[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT][FONT=&quot]การเพ่งโทษตนเอง เป็นการฝึกตนที่ได้ผลจริง[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]​
    [FONT=&quot]

    [/FONT][FONT=&quot]บัณฑิตไม่มีความเพ่งโทษผู้อื่น[/FONT][FONT=&quot]
    บัณฑิตจะเพ่งโทษตนเอง
    การเพ่งโทษตนเองนั้น
    เป็นการฝึกตนเองอย่างหนึ่ง
    ที่จักเกิดผลจริง[/FONT]
    [FONT=&quot]

    การเพ่งโทษผู้อื่นเป็นวิสัยของผู้ไม่ใช่บัณฑิต
    ผู้ที่เพ่งแต่โทษผู้อื่น ไม่เพ่งโทษตนเอง ย่อมไม่เห็นโทษของตนเอง
    ย่อมไม่เห็นความบกพร่องที่จะต้องแก้ไขให้ดีขึ้น
    ย่อมไม่รู้ว่ามีโทษเพียงไร ในแง่ใด
    ไม่มีโอกาสจะแก้ไขตนเอง แต่จะมุ่งไปแก้ผู้อื่น
    ซึ่งจะไม่เป็นประโยชน์แก่ตนอย่างใด


    ผู้อื่นนั้นไม่ใช่ว่าจะยอมให้แก้
    เพราะถ้าเป็นผู้อื่นที่เป็นบัณฑิต
    ก็ย่อมแก้ตนเองอยู่แล้ว ฝึกตนเองอยู่แล้ว
    ส่วนผู้ที่ไม่เป็นบัณฑิตก็ย่อมไม่สนใจที่จะแก้ตนเองฝึกตนเองอยู่แล้ว
    ผู้อื่นจะไปแก้จึงเป็นไปได้ยาก

    ทุกคนจะดีหรือชั่ว...สำคัญที่ตนเอง
    ตนเองมีความดีพอจะยอมรับความไม่ถูกต้องไม่ดีงามของตน
    ย่อมยินดีฝึกตน ย่อมยินดีแก้ไขตน ย่อมมีโอกาสเป็นคนดียิ่งขึ้น


    พระนิพนธ์ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ...เราต้องการของดี คนดี จำต้องฝึก...
    (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต)


    [​IMG]


    หากต้องการภาพขนาดใหญ่ เพื่อทำ Wallpaper
    Download Wallpaper Link...

    (กดปุ่มเมาส์ด้านขวา เลือก Save Target As)




    สร้างสรรค์โดย
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=160 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=gensmall vAlign=center align=middle>ลูกโป่ง</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ลานธรรมจักร &bull; แสดงกระทู้ - ...เราต้องการของดี คนดี จำต้องฝึก...(หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต)
     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105

    พระพุทธศาสนานี้สอน...(หลวงปู่เสก์ เทสรังสี)


    [​IMG]



    หากต้องการภาพขนาดใหญ่ เพื่อทำ Wallpaper
    Download Wallpaper Link...

    (กดปุ่มเมาส์ด้านขวา เลือก Save Target As)



    สร้างสรรค์โดย<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=160 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=gensmall vAlign=center align=middle>ลูกโป่ง </TD></TR></TBODY></TABLE>



    ลานธรรมจักร &bull; แสดงกระทู้ - พระพุทธศาสนานี้สอน...(หลวงปู่เสก์ เทสรังสี)
     
  15. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ...วันเวลาล่วงไป...(หลวงปู่ขาว อนาลโย)

    [​IMG]



    หากต้องการภาพขนาดใหญ่ เพื่อทำ Wallpaper
    Download Wallpaper Link...
    (กดปุ่มเมาส์ด้านขวา เลือก Save Target As)

    ความสว่าง สุกใส ของดวงจิต
    หมั่นพินิจ ด้วยปัญญา อันผ่องใส
    อบรมจิต ทีละนิด ทำเรื่อยไป
    อย่าเฉไฉ ผลัดวัน จนเป็นปี

    บอกว่าฉัน ไม่มี เวลานั่ง
    ฉันต้องสร้าง ฐานะ ก่อนได้ไหม
    คนเราสร้าง ไม่เคยหยุด จนจากไป
    เอาเวลา ที่ไหน มาทำทัน

    เวลาเดิน ยืนนั่ง และนอนนิ่ง
    อย่าได้ทิ้ง ภาวนา ดูตัวฉัน
    ทำอะไรอยุ่ หายใจอยู่ กันทั้งวัน
    มีสติรู้ ตลอดก็เรียก ว่าภาวนา

    ส่วนการนั่ง สมาธิ ขัดตะหมาต
    เป็นการชาร์ต พลัง ให้แน่นหนา
    ให้ดวงจิต มีพลัง ไม่เฉื่อยชา
    มีเวลา นิดหน่อย ค่อยๆทำ

    ยามแก่เฒ่า จะทำ ก็หมดแรง
    จะวิ่งแซง กันให้ทัน ก็ดูขำ
    เดี๋ยวก็เจ็บ เดี๋ยวก็ปวด ไม่อยากทำ
    หมดกำลัง สู้หนุ่มสาว ได้อย่างไร

    [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]


    สร้างสรรค์โดย
    รูปภาพ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=160 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD class=gensmall vAlign=center align=middle>ลูกโป่ง </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </B>​

    บทกวี<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=160 align=center border=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=gensmall vAlign=center align=middle>rawisada</TD></TR></TBODY></TABLE></B>​

    ลานธรรมจักร • แสดงกระทู้ - ...วันเวลาล่วงไป...(หลวงปู่ขาว อนาลโย)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กรกฎาคม 2009
  16. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    อาตาปี สัมปชาโน สติมา
    อาตาปี คือ ตบะ มีความเพียร เผากิเลส คือ simple life การมีชีวิตที่เป็นปกติด้วยศีล
    สัมปชาโน คือ มีความรู้สึกตัว เป็นกลาง มีปัญญา เข้าไปเห็นตามความเป็นจริง
    สติมา คือ มีสติ ไม่หลงลืม ไม่ถูกนิวรณ์ครอบงำ
    รวมความแล้วก็คือ การมีตบะเพียรอดทนต่อความแผดเผาของกิเลส มีชีวิตปกติด้วยศีล ที่จะเข้าไปมีสติ รู้สึกตัว......... เพื่อเห็นความเป็นจริง ของกายใจ ของเรานี้เองว่า เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน (อนิจจัง) ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ต้องเปลี่ยนแปลง (ทุกขัง) และไม่สามารถบังคับบัญชาหรือมีตัวตนที่จะยึดถือได้จริง (อนัตตา) เมื่อเห็นความเป็นจริงนี้ทำให้กิเลสไม่สามารถครอบงำจิตใจเราได้ ทำให้เราเป็นอิสระเหนือสุขทุกข์ทั้งหลายได้จริง ค่อยๆ ปลดเปลื้องภาระของการแบกขันธ์ห้านี้ไปเรื่อยๆ
    การภาวนานั้น คือการทำให้ดีทำให้มี หมายถึงการเพียรอย่างที่มีศาสตร์และศิลปในการปฏิบัติธรรม ความเพียรที่เป็นตบะนั้น ไม่ใช่การกระทำใดๆ กับกายและจิตเลย แต่เป็นเพียงการอดทนที่จะรู้ จะดูสภาวะที่เกิดขึ้นด้วยความรู้สึกตัว มีสติ นั้นเอง แต่จากการภาวนามานั้น ระยะแรกๆ ที่เรารู้สึกตัว มีสติ เรามักเห็นความเปลี่ยนแปลงของจิตใจชัดเจน เห็นอาการของ "พุทธะ" คือ "ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" ได้อย่างชัดเจน แต่ต่อมาการตามรู้ตามดูของเราจะยากขึ้น เพราะบางขณะจิตไม่อยากจะรู้จะดู แต่กลับหนีไปหลงโลก ยิ่งเราพยายามมากเท่าใด ยิ่งห่างไกลจากการปฏิบัติมากขึ้นเท่านั้น เพราะเราเผลอไปดัดแปลงจิตเข้าไปแล้ว ฉะนั้น การอดทนที่เป็นอาตาปี โดยมีความรู้สึกที่เรียกว่า "โอปตัปปะ" ความละอายต่อการเผลอ การละอายต่อการที่ยอมให้อกุศลครอบงำแล้วไม่ยอมรู้ยอมดูนี่เอง ฉะนั้น เราจึงต้องมี อาตาปี สัมปชาโน สติมา เป็นเครื่องมือสำคัญในการเจริญสติปัฏฐานต่อไป

    ที่มา http://www.naiyanit.com/
     
  17. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 001.JPG
      001.JPG
      ขนาดไฟล์:
      44.9 KB
      เปิดดู:
      1,098
    • 002.JPG
      002.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.6 KB
      เปิดดู:
      1,086
    • LP_jarun.JPG
      LP_jarun.JPG
      ขนาดไฟล์:
      30.1 KB
      เปิดดู:
      1,101
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    มีพระอยู่รุ่นนึงของหลวงตามหาบัว ทีแรกได้ยินชื่อ ก็คิดว่าเอ๊... ท่านจะหมายถึงอะไร จึงตั้งข้อสงสัยไว้ในใจตลอดมา จนบัดนี้ได้เห็นของจริงพร้อมหนังสือ ลองมาดูพร้อมกันตามนี้ครับ พอดูแล้วหาเก็บกันได้ก็เก็บเอาไว้กันซะดีๆ (รอสักครู่ภาพอาจขึ้นมาช้าครับ)

    กอดคอกันตาย

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    รูปหล่อรุุ่นนี้ได้ยินว่าเป็นวัตถุมงคลอย่างหนึ่งที่หลวงตามหาบัว ท่านอธิษฐานจิตแน่นอนครับ
    เห็นเขาหากันมากใครได้ไปจะมีคู่มือให้แล้วจะต้องเซ็นรับที่คู่มือด้วยครับ
    หากมอบต่อให้ใครก็ต้องเซ็นกำกับ
    ผมก็ว่าแปลกดี บังเอิญไปเห็นคุณsilpโพสต์ไว้เลยนำมาให้ดูครับ
    มีคนเล่าว่าเล่นหากันถึงหมื่นแล้ว


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]


    ขอขอบคุณ

    สวนขลังดอทคอม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กรกฎาคม 2009
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ความน่าจะเป็นบนเส้นทางธรรม (ท่าน ว.วชิรเมธี)

    [​IMG]

    ธรรมะโดยท่าน ว.วชิรเมธี

    ปุจฉา
    ในพุทธประวัติเวลาเล่าถึงตอนที่สาวกหรือแม้แต่คนธรรมดาที่ได้ฟังโอวาทของพระพุทธเจ้าแล้วเข้าใจแจ่มแจ้ง มักจะใช้คำพูดว่าเกิดดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเป็นพระอรหันต์ในทันที ดิฉันสงสัยว่า การเกิดดวงตาเห็นธรรม สำเร็จเป็นพระอรหันต์มันเป็นความรู้สึกที่สามารถเปรียบได้กับความรู้สึกแบบไหนในทางโลก และที่ว่าดวงตาเห็นธรรมนั้นเห็นเท่ากับที่พระพุทธองค์ตรัสรู้เลยหรืออย่างไร เคยอ่านว่าคนเหล่านั้นอาจเกิดมาแล้วหลายชาติ แต่บางคนก็ไม่ใช่ทำไมถึงได้บรรลุกันง่ายดายขนาดนั้นคะ


    ---------------------------------------------------

    วิสัชนา
    “ดวงตาเห็นธรรม” เป็นคำเรียกผู้ที่บรรลุ “โสดาปัตติผล” เป็นพระ “โสดาบัน” (ผู้แรกหยั่งลงสู่กระแสพระนิพพาน) ซึ่งถือเป็นพระอริยบุคคลขั้นต้นในสี่ขั้น กล่าวคือ

    (๑) พระโสดาบัน

    (๒) พระสกทาคามี

    (๓) พระอนาคามี

    (๔) พระอรหันต์

    การบรรลุโสดาบันที่ถือว่าเป็นการได้ดวงตาเห็นธรรมนั้น จะเกิดขึ้นกับผู้ที่ปฏิบัติธรรมตามแนวอริยมรรคมีองค์ ๘ หรือเจริญสติปัฏฐาน ๔ (ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน แต่ต่างชื่อเท่านั้น) เมื่อเกิดอาการเช่นว่านั้น จิตจะสว่างกระจ่างแจ้ง เข้าใจในสัจธรรมพื้นฐานของรูปและนามอย่างชัดเจนว่าเป็นเพียงสิ่งปรุงแต่งที่เกิดขึ้น ดำรงอยู่ และแตกดับไปตามธรรมดา ข้อความที่ท่านยกขึ้นมาเป็นบทอ้างอิงประกอบการอธิบายอาการของผู้เกิดดวงตาเห็นธรรมก็คือ จิตจะเกิดการตื่นรู้ว่า

    “ยงฺกิญฺจิ สมุทยธมฺมํ, สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ”

    “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา”

    การได้ดวงตาเห็นธรรมก็คือการเห็น “ไตรลักษณ์” นั่นเอง ที่ว่า “เห็น” นั้น ไม่ใช่การเห็นด้วยตาเนื้อ เห็นด้วยความเข้าใจในระดับเหตุผล แต่เป็นการเห็นด้วยตาคือปัญญาของจิตที่อบรม ฝึก หัด พัฒนาจนสุกงอมถึงที่สุดแล้ว อาการได้ดวงตาเห็นธรรมนั้น เปรียบง่ายๆ เหมือนคนที่หยิบพริกขี้หนูขึ้นมาเม็ดหนึ่งแล้วกัดกร้วมลงไป พอรู้ว่า “เผ็ด” เท่านั้น ก็จะจำไปจนตาย รสชาติของพริกที่ “เผ็ด” นั้น จะกลายเป็นประสบการณ์ที่ฝังอยู่ในความรู้สึกไปตราบนานเท่านานโดยไม่ต้องการคำอธิบาย หากแต่เป็น “ประสบการณ์ตรง” ที่ระบบประสาททั้งหมดสัมผัสได้เองโดยตรง หรือเหมือนกับคนที่ถูกใครสักคนเอาปืนจ่อหัวพร้อมลั่นไก จู่ๆ นาทีนั้น โดยไม่ต้องอ้างเหตุผล ความหวาดกลัวก็จะเกิดขึ้นมา เหงื่อเม็ดโป้งๆ ก็จะซึมออกมาเองโดยธรรมชาติ คนที่ถูกปืนจ่อหัวนั้นจะปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่างเองโดยอัตโนมัติ โดยไม่ต้องการให้ใครมาเสี้ยมสอนแม้แต่น้อย ประสบการณ์การบรรลุธรรม เป็นเรื่องเหนือ “สมอง” เป็นเรื่องพ้น “ตรรกะ” อย่างสิ้นเชิง การบรรลุธรรม เป็นประสบการณ์ตรงของ “จิต” ล้วนๆ พูดอีกนัยหนึ่งตามสำนวนนักปฏิบัติก็คือ เป็นเรื่อง “เหนือคิด” หรือ “นอกเหตุเหนือผล” ต้องหยั่งรู้หยั่งเห็นด้วยตนจึงจะเข้าใจ เพราะการบรรลุธรรมเป็นเรื่องเข้าใจยาก จึงเมื่อมีคนมาถามพระพุทธองค์ หรือพุทธสาวกคนสำคัญๆ ว่าภาวะหลังการบรรลุธรรมเป็นอย่างไร ท่านเหล่านั้นจึงตอบด้วยการ “นิ่ง” การตอบด้วยการนิ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการตอบปัญหาที่เรียกว่า “ฐปนียปัญหา” คือ “ตอบด้วยการไม่ตอบ” นั่นเอง

    การที่คนสมัยพุทธกาลบรรลุธรรมกันง่ายๆ นั้นเป็นเพราะเรา “มองชั้นเดียว” แต่หากมองตามเหตุปัจจัยหลายชั้น ก็จะพบว่า สาวกแต่ละคนล้วนแล้วแต่ได้บำเพ็ญบารมีมาแล้วทั้งสิ้น เช่น พระยสกุลบุตรที่เพียงแต่ได้นั่งฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าว่าด้วยเรื่อง “ทาน สีล สวรรค์ กาม และการหลีกออจากกาม” ก็สามารถบรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ทั้งๆ ที่ยังไม่ได้ออกบวช หรือแม้แต่สำเร็จเป็นพระอรหันต์ก็ยังไม่ได้ออกบวชเช่นกัน นั่นเป็นเพราะว่า ในหลายชาติภพมาแล้ว ท่านได้สั่งสมเหตุปัจจัยมาพอสมควร

    เช่น ในชาตินี้ที่ท่านเบื่อ “กามารมณ์” จนมองเห็นสาวสรรค์กำนัลในว่าเป็นดั่งซากศพ ก็เพราะว่า ในชาติที่ผ่านมาท่านได้อุทิศตนทำงานอาสาสมัครร่วมกันเก็บศพไม่มีญาติไปเผายังฌาปนสถาน เมื่อท่านเห็นซากศพมาจนชินในชาติที่แล้ว จิตจึงเกิดการเบื่อหน่ายคลายความกำหนัด มาในชาตินี้ จิตที่เบื่อมาแล้วระดับหนึ่ง ถูกตอกย้ำด้วยสภาพแวดล้อมเดิมๆ จึงเบื่อเต็มกลืน ถึงขนาดอุทานออกมาว่า

    “ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ”

    พระพุทธองค์ได้ทรงสดับดังนั้นจึงตรัสตอบว่า

    “ที่ไม่วุ่นวายหนอ ที่นี่ไม่ขัดข้องหนอ”

    ข้อความที่ “ตรงกันข้าม” อย่างสิ้นเชิงเช่นนี้ มีพลังดึงดูดให้ยสกุลบุตรพุ่งตรงเข้าไปหาต้นเสียงคือพระพุทธเจ้าทันที เมื่อน้ำแห่งโพธิปัญญานั้นเต็มปรี่มาแล้วระดับหนึ่ง จึงเมื่อน้ำหยดสุดท้ายจากปรีชาญาณของพระพุทธองค์หยดลงไปเติมเป็นหยดสุดท้าย น้ำในแก้วนั้นก็พลันล้นทะลักออกมาเป็น “ดวงตาเห็นธรรม” อย่างง่ายดาย

    กรณีของพระยสะคือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่า ไม่มีอะไรได้มาง่ายๆ เลย ที่เราเห็นว่าง่ายเพราะเรามองแต่ “ยอด” ทว่าไม่เห็น “ราก” และองค์ประกอบอื่นอีกมากมายต่างหาก

    ใช่หรือไม่ว่า เราทุกคนต่างเคยมี “ชาติที่แล้ว” มาด้วยกันแทบทั้งนั้น และนั่นจึงทำให้เราสันนิษฐานได้ว่า บางทีชาตินี้อาจเป็นชาติที่เรากำลังจะเต็มเปี่ยมก็เป็นได้ เราทุกคนจึงเป็นผู้มีสิทธิ์ที่จะเห็นธรรมด้วยกันทั้งนั้น ไม่มีใครได้เปรียบใครหรือไม่มีใครด้อยกว่าใคร ทุกคนล้วนดำเนินอยู่บนวิถีแห่ง “ความน่าจะเป็น” บนเส้นทางธรรมเสมอกัน


    คัดลอกจาก
    vimuttayalaya.net
     
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ความงามของความเงียบ

    [​IMG]

    หากคุณเดินเท้าในเมืองหลวงของสยามประเทศ จากหัวถนนสีลมไปยังท้ายถนนในชั่วโมงเร่งด่วน คุณจะผ่านยามจำนวน 207 คน หนึ่งในสามของยามเหล่านี้ทำหน้าที่โบกรถเข้าออกอาคารสำนักงานต่างๆ ด้วยสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่านกหวีด ระดับเสียง 120 เดซิเบลที่กรีดร้องในระยะใกล้หู สูงพอทำให้ใจคุณสั่น แก้วหูสะเทือนถึงขั้นอันตราย พลานุภาพไม่แพ้พลังเสียงดูหลำแห่งทะเลใต้อย่างแน่นอน!

    มิน่าเล่าถนนสายนี้จึงมีโรงพยาบาลและคลินิกหู (คอจมูก) คั่นทุกๆ หลายช่วงตึก!


    สีลมเป็นเพียงหนึ่งในถนนใหญ่หลายสิบสายที่พลุกพล่านด้วยคน รถ และยามซึ่งนิยมใช้นกหวีดมากกว่าสัญญาณมือ ที่แปลกก็คือไม่ค่อยมีใครคิดว่านี่เป็นเรื่องแปลก ไม่เห็นใครบ่นอะไร แต่ละคนก้มหน้าก้มตาเดินไป ยามก็ตั้งหน้าตั้งตาเป่านกหวีด คนขับรถก็กดแตรไป

    ความจริงที่หลายคนอาจไม่รู้หรือรู้แต่ลืมไปแล้วก็คือ การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังเกิน 85 เดซิเบลนานๆ เป็นอันตรายต่อหูมนุษย์ และเสียงนกหวีดกับเสียงแตรรถนั้นเกินระดับ 85 เดซิเบลไม่น้อย

    นี่คือรายการเดซิเบลของเสียงต่างๆ :

    เสียงคุยกันปกติ 50-60 เดซิเบล
    นาฬิกาปลุก 70-80 เดซิเบล
    เสียงตะโกน 90-100 เดซิเบล
    เสียงแตรรถยนต์ 110 เดซิเบล
    ฟ้าร้อง / ไนท์คลับ / ร็อค คอนเสิร์ต 120 เดซิเบล
    ลูกโป่งแตก 150 เดซิเบล
    ประทัด 120-140 เดซิเบล
    เครื่องบินขึ้นฟ้า 150-180 เดซิเบล


    คุณไม่ควรอยู่ในสภาวะเสียงที่ดัง 80-90 เดซิเบลนานกว่าแปดชั่วโมงต่อวัน การฟังเสียงดัง 115 เดซิเบลนานเพียงสิบห้านาทีต่อวัน สามารถทำลายเยื่อแก้วหูได้ เกิน 110 เดซิเบลขึ้นไปเป็นอันตรายต่อหู เกิน 180 เดซิเบลคือหูพัง

    จำไว้ง่ายๆ คือ ทุกๆ 5 เดซิเบลที่เพิ่มขึ้น ให้ลดเวลาที่อยู่กับเสียงนั้นลงครึ่งหนึ่ง

    หากคุณชอบฟังเพลงดนตรีในผับที่ระดับเสียง 100 เดซิเบล ก็ไม่ควรขลุกอยู่ในนั้นเกินสิบห้านาที มิเช่นนั้นวันหนึ่งคุณอาจตื่นขึ้นมาพบว่าโลกใบนี้เงียบผิดปกติ


    วิถีชีวิตของเราเกี่ยวข้องกับเสียงดังจนมันกลายเป็นเรื่องปกติ นอกจากเสียงจอแจของจราจร เมื่อเข้าสำนักงานก็ได้ยินเสียงด่าของเจ้านาย (มักได้ยินชัดเจนจากทุกมุมสำนักงาน) เสียงเพลงในที่ทำงาน (คนไทยเรามักใจดีอยากให้เพื่อนทุกคนในสำนักงานได้ยินเพลงที่เราชอบด้วย) ฯลฯ

    ทุกวันคนขายผักผลไม้แถวบ้านผมขับ 'ยานเวลา' มาขายไข่ไก่ ผักกาดขาว ส้ม ทุเรียน ลำไย เงาะ ถึงหน้าบ้าน

    ยานเวลา นี้ย่อมาจากคำว่า 'หย่อนยานเรื่องเวลา' นั่นคือใช้เครื่องขยายเสียงประกาศขายไข่ไก่ ผักกาดขาว ผักคะน้า ฯลฯ กันสองเวลา คือตอนห้าทุ่มเมื่อหลายคนหลับไปแล้ว กับตีห้าก่อนไก่หลายตัวโก่งคอขัน!

    แม้กระทั่งในสถานที่ที่ไม่ควรมีเสียงอย่างที่สุดเช่น สวนสาธารณะ ก็ยังเต็มไปด้วยมลพิษทางเสียง สวนสาธารณะในบ้านเรานิยมใช้เครื่องขยายเสียง ตั้งแต่การประกาศห้ามพาหมามาเดิน ไปจนถึงการใช้ไมโครโฟนร้องเพลงคาราโอเกะอย่างสุขสม


    ในช่วงเทศกาลรื่นเริง เรามักเห็นการจัดปาร์ตี้ยามดึกดื่นพร้อมเสียงดนตรีดังจากท้ายซอยถึงต้นซอย

    เมื่อขึ้นแท็กซี่ น้อยครั้งคุณจะพบคันที่ไม่เปิดวิทยุ

    เราเป็นชาติที่หนวกหูที่สุดชาติหนึ่งในโลก!

    มนุษย์เมืองหลวงเคยชินกับเสียงเหล่านี้จนมองไม่เห็นว่ามันไม่ปกติ

    สุภาษิตโบราณว่า ถ้าทุกคนพูดพร้อมกัน ก็จะไม่มีใครได้ยิน

    อาจจะจริง ถ้าเรายังไม่ยอมลดการใช้เสียงดังอย่างนี้ วันหนึ่งก็จะไม่มีใครได้ยินจริงๆ

    การแก้ปัญหามลพิษเสียงก็เช่นเดียวกับการแก้ปัญหาจราจรและอีกหลายๆ ปัญหา นั่นคือแก้ที่คน ไม่ใช่ป้ายห้ามใช้เสียง แก้ด้วยหลักง่ายๆ : "เอาใจเขามาใส่ใจเรา"

    อย่าทึกทักว่าคนอื่นชอบเพลงที่คุณชอบ อย่าสรุปว่าคนอื่นอยากฟังคุณร้องเพลง ถ้าไม่ชอบเสียงนกหวีดข้างหูคุณ คนอื่นก็ไม่ชอบ ถ้าไม่อยากให้ใครมาตะโกนตะคอกใส่ ก็ไม่ตะโกนตะคอกใส่คนอื่น


    เงียบๆ ไว้บ้าง โลกจะสดใสขึ้นมาก

    เดินเงียบๆ คิดเงียบๆ ทำงานเงียบๆ

    เมื่อโลกเงียบลง คุณอาจจะได้ยินเสียงแมลงกระซิบกัน เสียงลมพัด เสียงใบไม้ไหว เสียงนกบอกรัก

    ที่สำคัญที่สุด คุณจะได้ยินเสียงความคิดและเสียงหัวใจของคุณชัดขึ้น


    บทความโดย..วินทร์ เลียววาริณ
    จากเวบทำดีดอทเนท
     

แชร์หน้านี้

Loading...