ใต้ร่มโพธิญาณ พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภัทโธ)

ในห้อง 'ทวีป ยุโรป' ตั้งกระทู้โดย Wat Pa Gothenburg, 3 ธันวาคม 2008.

  1. Wat Pa Gothenburg

    Wat Pa Gothenburg เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    920
    ค่าพลัง:
    +260
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="41" width="100%"><tbody><tr></tr><tr> </tr> <tr align="left" valign="top"> <td colspan="2"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top">[​IMG]
    เช้า ตรู่วันครูปี '35 หลวงพ่อละสังขาร ไปตามกฎธรรมชาติ ศิษย์ต่างรำลึกว่า..... หลวงพ่อมิได้จากไปไหน ภาพลักษณ์แท้จริงของท่านคือ ปฏิทาอันงดงาม และธรรมคำสอนที่ลึกซึ้ง แต่ง่ายต่อการเข้าใจ ยังปรากฎอยู่กับเราตลอดเวลา ​
    ศิษย์ จึงร่วมเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ขึ้น จากงานเขียนเก่าของครูบาอาจารย์ จากธรรมเทศนาของหลวงพ่อในแถบเสียง และการบอกเล่าจากญาติมิตรของท่าน โดยมุ่งหมายให้เรื่องราวเหล่านี้ เป็นเช่นบทศึกษา แก่ผู้แสวงหาชีวิตที่งดงาม ผู้มีปัญญา ย่อมค้นพบสัจธรรมในสรรพสิ่ง และยังอาจพบเห็นสารธรรม จากหนทางชีวิตของหลวงพ่อ ในหนังสือเล่มนี้ ​
    คณะศิษย์
    ฤดูหนาว 2535
    </td> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <left></left>
    <table width="100%"><tbody><tr><td><left><table width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%">[​IMG]</td> <td valign="top" width="80%"> งานรำลึกพระเดชพระคุณพระโพธิญาณเถร (ชา สุภัทโท) ประจำปี 2550
    วัน ที่ 16 มกราคม ของทุกปี ศิษยานุศิษย์หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง จะเป็นที่ทราบ กันดีว่าเป็นวันละสังขารของท่าน และจะมีการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเพื่อรำลึก ถึงท่าน โดยปีนี้ตรงกับวันที่ 12-17 มกราคม 2550 เชิญสำรวจตารางกำหนดงานได้ ครับ
    </td> </tr> </tbody></table></left></td></tr><tr><td><left><table width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%">[​IMG]</td> <td valign="top" width="80%"> รำลึกถึงอุปลมณี แก้วมณีแห่งเมืองอุบล โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก
    ทุกข์มี เพราะยึด ทุกข์ยืด เพราะอยาก ทุกข์มาก เพราะพลอย ทุกข์น้อย เพราะหยุด
    ทุกข์หลุด เพราะปล่อย ข้อความข้างต้นนั้นเป็นคติพจน์สำคัญบทหนึ่ง ของพระ เถระผู้เป็นอาจารย์วิปัสสนาชื่อก้อง เป็นที่เคารพยกย่องขอประชาชนทั่ว ประเทศ ตลอดถึงนานาประเทศด้วย

    </td> </tr> </tbody></table></left></td></tr><tr><td><left><table width="100%"> <tbody><tr> <td valign="top" width="1%">[​IMG]</td> <td valign="top" width="80%"> ใต้ร่มโพธิญาณ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
    ชีวประวัติ พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท) วัดหนองป่าพง ซึ่งไกด์อุบลได้มา เมื่อ ครั้งไปกราบนมัสการอัฐิของหลวงพ่อ หรือซึ่งไกด์อุบลเรียกท่านว่า "หลวงปู่ ชา" เมื่ออ่านจบแล้ว ยิ่งเกิดความเลื่อมใสในตัวท่านและธรรมคำสอนของท่าน ยิ่งๆ ขึ้น จึงอยากคัดลอกมาให้ท่านได้อ่านกัน โปรดติดตามได้ ณ บัดนี้ ..........
    </td> </tr> </tbody></table></left></td></tr><tr><td><left></left>
    </td></tr><tr><td><left></left>
    </td></tr><tr><td align="right"> อ่านทั้งหมด</td></tr></tbody></table> <table align="center" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1" width="30%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#ff9900">
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  2. วัฒนพงษ์

    วัฒนพงษ์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +46
    สาธุ หลักธรรมคำสอนของหลวงพ่อเข้าใจง่ายต่อการปฏิบัติ เวลานั่งสมาธิให้เปิดคำบรรยายของท่าน จะรู้สึกดียิ่งๆขึ้น
     
  3. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    [​IMG]

    หลวงพ่อชา สุภัทโท ถ้าท่านไม่มรณะภาพ คนไกลอย่างผม

    ก็คงไม่รู้ว่าท่านเป็นลูกศิษย์พระอาจารย์มั่น นั่นก็ไม่ใช่ว่าผมไม่ใส่ใจศึกษา แต่ผมก็เร่งความเพียรปฏิบัติอยู่เช่นกัน เลยดูเหมือนเป็นคนไม่สนใจอะไรกับใคร

    จริง ๆ ผมมาทราบเอาตอนหนัง สือพิมพ์ลงรูปภาพเจดีย์

    พาดหัวข่าววัดหนองป่าพง<!-- google_ad_section_end -->
     
  4. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    [​IMG]

    พระเจ้าตรัสว่าใครที่ดื่มน้ำที่เราให้เขา

    จะบังเกิดน้ำพุภายในตัว

    หล่อเลี้ยงชีวิตชั่วกัลปาวสาน
     
  5. omio

    omio เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,679
    ค่าพลัง:
    +5,214
    เพิ่งมีโอกาสได้ดู youtube เกี่ยวกับหลวงพ่อชา ประทับใจในปฎิปทาของท่านมาก

    อนุโมทนาค่ะ
     
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    [​IMG]
    Ajahn Chah

    Early life

    Ajahn Chah was born on 17 June 1918 near Ubon Ratchathani in the Isan region of northeast Thailand. His family were subsistence farmers. As is traditional, Ajahn Chah entered the monastery as a novice at the age of nine, where, during a three-year stay, he learned to read and write. He left the monastery to help his family on the farm, but later returned to monastic life on 16 April 1939, seeking ordination as a Theravadan monk (or bhikkhu).[5] According to the book Food for the Heart: The Collected Writings of Ajahn Chah, he chose to leave the settled monastic life in 1946 and became a wandering ascetic after the death of his father.[5] He walked across Thailand, taking teachings at various monasteries. Among his teachers at this time was Ajahn Mun, a renowned meditation master in the Forest Tradition. Ajahn Chah lived in caves and forests while learning from the meditation monks of the Forest Tradition. A website devoted to Ajahn Chah describes this period of his life:

    For the next seven years Ajahn Chah practiced in the style of an ascetic monk in the austere Forest Tradition, spending his time in forests, caves and cremation grounds. He wandered through the countryside in quest of quiet and secluded places for developing meditation. He lived in tiger and cobra infested jungles, using reflections on death to penetrate to the true meaning of life.[5]

    Thai forest tradition


    During the early part of the twentieth century Theravada Buddhism underwent a revival in Thailand under the leadership of outstanding teachers whose intentions were to raise the standards of Buddhist practise throughout the country. One of these teachers was the Venerable Ajahn Mun Bhuridatta. Ajahn Chah continued Ajahn Mun's high standards of practise when he became a teacher.[6]

    The monks of this tradition keep very strictly to the original monastic rule laid down by the Buddha known as the vinaya. The early major schisms in the Buddhist sangha were largely due to disagreements over how strictly the training rules should be applied. Some opted for a degree of flexibility (some would argue liberality) whereas others took a conservative view believing that the rules should be kept just as the Buddha had framed them. The Theravada tradition is the heir to the latter view. An example of the strictness of the discipline might be the rule regarding eating: they uphold the rule to only eat between dawn and noon. In the Thai Forest Tradition monks and nuns go further and observe the 'one eaters practice', whereby they only eat one meal during the morning. This special practice is one of the thirteen dhutanga - optional ascetic practices permitted by the Buddha that are used on an occasional or regular basis to deepen meditation practice and promote contentment with little. They might, for example, as well as eating only one meal a day, sleep outside under a tree, or dwell in secluded forests or graveyards.
    Monasteries founded
    Ajahn Chah welcoming as a novice a New Zealander, later to become Ajahn Munindo, abbot of a monastery in the north of England

    After years of wandering, Ajahn Chah decided to plant roots in an uninhabited grove near his birthplace. In 1954, Wat Nong Pah Pong monastery was established, where Ajahn Chah could teach his simple, practice-based form of meditation. He attracted a wide variety of disciples, which included in 1966, the first Westerner, Venerable Ajahn Sumedho.[5] Wat Nong Pah Pong [7] includes over 250 branches throughout Thailand, as well as over 15 associated monasteries and ten lay practice centers around the world.[5]

    In 1975, Wat Pah Nanachat (International Forest Monastery) was founded with Ajahn Sumedho as the abbot. Wat Pah Nanachat was the first monastery in Thailand specifically geared towards training English-speaking Westerners in the monastic Vinaya, as well as the first run by a Westerner.

    In 1977, Ajahn Chah and Ajahn Sumedho were invited to visit the United Kingdom by the English Sangha Trust who wanted to form a residential sangha.[8] 1979 saw the founding of Cittaviveka (commonly known as Chithurst Buddhist Monastery due to its location in the small hamlet of Chithurst) with Ajahn Sumedho as its head. Several of Ajahn Chah's Western students have since established monasteries throughout the world.

    By the early 1980s, Ajahn Chah's health was in decline due to diabetes. He was taken to Bangkok for surgery to relieve paralysis caused by the diabetes, but it was to little effect. Ajahn Chah used his ill health as a teaching point, emphasizing that it was "a living example of the impermanence of all things...(and) reminded people to endeavor to find a true refuge within themselves, since he would not be able to teach for very much longer".[5] Ajahn Chah would remain bedridden and ultimately unable to speak for ten years, until his death on January 16, 1992 at the age of 73.[9]


    Notable Western students

    Ajahn Sumedho, former abbot of Amaravati Buddhist Monastery, Hemel Hempstead, Hertfordshire England
    Ajahn Khemadhammo, abbot of The Forest Hermitage, Warwickshire, England
    Ajahn Pasanno, abbot of Abhayagiri Monastery, Redwood Valley, California, USA
    Ajahn Amaro, abbot of Amaravati Monastery, Amaravati Buddhist Monastery, Hemel Hempstead, Hertfordshire England
    Ajahn Bramavamso (Ajahn Brahm) Abbot of Bodhinyana Monastery, Serpentine, Western Australia.
    Jack Kornfield, co-founder of Insight Meditation Society, Barre, Massachusetts, USA and Spirit Rock Meditation Center Woodacre, California, USA
    https://jackkornfield.com/

    Teachings

    PDF ebook: The Teachings of Ajahn Chah - main collection of Dhamma talks
    Dhamma talks by Ajahn Chah
    MP3 Dhamma talks by Ajahn Chah
    Ajahn Chah's talks in English and other languages
    Dhamma talks in MP3 audio format, with English translation
    Portal of the Ajahn Chah Sangha, including MP3s

    https://en.wikipedia.org/wiki/Ajahn_Chah

    Picture below Ajahn Cha are Lp Sumetho,Ajahn Brahm and Jack Kornfield.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • L P Cha.jpg
      L P Cha.jpg
      ขนาดไฟล์:
      77.1 KB
      เปิดดู:
      1,083
    • LpSumetho1.jpg
      LpSumetho1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.3 KB
      เปิดดู:
      308
    • AjahnBrahm1.jpg
      AjahnBrahm1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      13.6 KB
      เปิดดู:
      440
    • JackKornfield.jpg
      JackKornfield.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.4 KB
      เปิดดู:
      315
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 เมษายน 2016
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    ธรรมะก่อนนอน ปล่อยวาง ว่างสบาย หลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง

    ปลดล็อค :-
    Published on Sep 13, 2017
    ธรรมะก่อนนอน ปล่อยวาง ว่างสบาย หลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง


    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กันยายน 2017
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    Ajahn Pasanno - Reflections On Ajahn Chah
    <iframe width="420" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/EubWfac3wDE" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
    Published on Jan 24, 2014

    Index of /dhamma_talks...
    Ajahn Pasanno (born Reed Perry, Manitoba, Canada, July 26, 1949) is the most senior Western disciple of Ven. Ajahn Chah in the United States, and most senior in the world after Ajahn Sumedho and Ajahn Khemadhammo. For many years he was the abbot of Wat Pah Nanachat International Forest Monastery in Northeast Thailand. In the late 1990s, Ajahn Pasanno moved to California to head the new Abhayagiri Monastery. With more than 40 years as a bhikkhu (Buddhist monk), Ajahn Pasanno has been instrumental in training many monks in Thailand and the United States and has been supportive of training for women.

    Ajahn Pasanno was born on July 26, 1949 in The Pas, Manitoba, Canada. In 1972 he finished his studies at the University of Winnipeg, Canada, and graduated with a Bachelor of Arts in History. A year later, in 1973, he travelled to Asia through Turkey, Iran, Afghanistan and Pakistan, to India, Nepal and finally Thailand, where Ajahn Pasanno travelled to a meditation monastery in Chiang Mai. He studied the Tripitaka in English and enrolled in a month of meditation retreat.

    In January 4, 1974, at the age of 24, Ajahn Pasanno took ordination at Wat Pleng Vipassana in Bangkok, Thailand with Venerable Phra Khru Ñāṇasirivatana as preceptor. During his first year as a monk he was taken by his teacher to meet Ajahn Chah, with whom he asked to be allowed to stay and train. One of the early residents of Wat Pah Nanachat, Ajahn Pasanno became its abbot in his ninth year. During Ajahn Pasanno’s tenure as abbot, Wat Pah Nanachat developed considerably, increasing in size from 40 acres to 140 acres, and Ajahn Pasanno initiated an extensive tree-planting project that made Wat Pah Nanachat a model site for reforestation with the Department of Forestry in Ubon Ratchathani.

    In 1990, Ajahn Pasanno established Poo Jom Gom Hermitage in Ampher Khong Chiam, Ubon Ratchathani Province (adjacent to Pah Dtaem National Park) as a forest retreat facility for Wat Pah Nanachat. One year later, he established Dtao Dum Hermitage inside Sai Yok National Park in Kanchanaburi Province as another forest retreat facility Buddhist monks. In addition to their function as places of meditation practice and monastic training, they help to protect the surrounding forests and natural environment and thus have received support from the Department of Forestry and the Thai military.

    As abbot of Wat Pah Nanachat, Ajahn Pasanno was also involved in community development work, helping villages to develop projects that helped village harmony, virtue, and livelihood, and he started organizations that worked with villagers in northeast Thailand to protect areas of forest. In 1991, he helped to draw a group of people together in the Ubon Ratchathani region who were interested in forest conservation and community development, which was formally established as the Nature Care Foundation in 1992 and continues to work for the benefit of the community, facilitating environmental education, cooperation between governmental and non-governmental organizations, and the initiation of projects to support sustainable livelihood. Ajahn Pasanno ordained many trees in order to protect them, putting robes around them, holding traditional ceremonies, and chanting for the protection of the forest.

    After Ven. Ajahn Chah became ill and died, Ajahn Pasanno was part of the steering committee for administering to the needs of Wat Nong Pah Pong and its branch monasteries, which at the time numbered over 200. In 1992 and 1993, Ajahn Pasanno was directly involved in helping the preparation and organization of the royal funeral of Ajahn Chah (Phra Bodhinyanathera) at Wat Nong Pah Pong, Ampher Warin, Ubon Ratchathani Province. Over a period of ten days for the funeral there was Dhamma instruction and practice. Over a million people passed through the monastery during that time. On the day of the cremation, between 300,000 and 400,000 people were in attendance.

    Spending 24 years living in Thailand, Ajahn Pasanno became a well-known and highly respected monk and Dhamma teacher. Prior to leaving Thailand, he was appointed an official preceptor with authority to preside over ordinations of sāmaṇeras and bhikkhus.
    Ajahn Pasanno moved to California on New Year's Eve of 1997 to share the abbotship of Abhayagiri Monastery, Redwood Valley, California, with Ajahn Amaro. In addition to leading the community at Abhayagiri, his spiritual activities shortly after arriving in California ranged from traveling to San Quentin Prison in order to provide spiritual counseling for Jaturun "Jay" Siripongs, who was executed on February 9, 1999, to leading monks from Abhayagiri to visit, make offerings, and chant for Julia Butterfly Hill, who was living in a 1500-year-old California Redwood tree in order to protect it from Pacific Lumber Company loggers.
     
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    หลวงปู่ชา-การทำสมาธิ


    photo.jpg
    namo putaya

    Published on Jul 23, 2017
    หลีกหนีความวุ่นวายมาเก็บบุญกุศลด้วยการทำสมาธิทำตามแนวทางของหลวงปู่ชาท่านให้คำแนะนำในเรื่องนี้กันว่าควรทำอย่างไรสมาธิจึงจะเกิด
    การทำสมาธิ - พระธรรมเทศนาหลวงปู่ชา สุภัทโท พระโพธิญาณเถร วัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2017
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    The Mindful Way - The Buddhist Forest Tradition.

    The Noble Path :-
    Published on May 6, 2013

    BBC Documentary in 1979 about Thai Forest Monastery Traditions. Featuring Ajahn Chah, the founder and the teacher of Wat Nong Pah Pong and Wat Pah Nanachat (The International Forest Monastery) Ubon Rachathani, Thailand and his disciples with the way of absolute peaceful in Buddhist Forest Tradition. Venerable Ajahn Chah, who is highly revered, is well known in Thailand as one of the top venerable monks in forest tradition. Ajahn Chah died in 1993, after establishing many forest tradition monasteries both in Thailand and in the West. Currently, his disciples still faithfully follow his teaching and they established 241 domestic branch monasteries in Thailand and 22 international branch monasteries in many countries. For more information of Venerable Ajahn Chah and his monasteries: Venerable Ajahn Chah Subhaddo http://www.ajahnchah.org Wat Pah Nanachat (WPN) The International Forest Monastery http://www.watpahnanachat.org/ Wat Nong Pah Pong http://www.watnongpahpong.org
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2017
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    Compilation of Ajahn Chah's Teaching, หลวงปู่ชา (Ajahn Chah, Theravada Buddhism)
    [​IMG]

    Theravada Buddhism
    Uploaded on Mar 3, 2010
    Theravada Buddhism. The core teaching of Venerable Ajahn Chah (Phra Bodhiñāna Thera), A good compilation of Ajahn Chah teaching. Venerable Ajahn Chah (Phra Bodhiñāna Thera) was born into a typical farming family in a rural village in the province of Ubon Rachathani, N.E. Thailand, on June 17, 1918. Wat Nong Pah Pong (วัดหนองป่าพง)


    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2017
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    Ajahn Chah - Speaking Straight on Meditation and Sila (in Thai & English) by The Noble Path


    Published on May 4, 2013

    Speaking Straight on Meditation and Sila : ศีล-สมาธิ

    A dhamma talk by Venerable Ajahn Chah Subhaddo, the founder and the teacher of Wat Nong Pah Pong and Wat Pah Nanachat in Ubon Ratchathani, Thailand. Ajahn Chah died in 1993, after establishing many forest tradition monasteries both in Thailand and in the West.

    This teaching was given at IMS in 1978 in Thai language by Ajahn Chah and interpreted into English by his disciple for foreign guests.

    For more information of Venerable Ajahn Chah and his monasteries:
    Venerable Ajahn Chah Subhaddo
    The Teachings of Ajahn Chah

    Wat Pah Nanachat (WPN)
    The International Forest Monastery
    Wat Pah Nanachat

    Wat Nong Pah Pong
    Untitled Document

    Playlist: http://www.youtube.com/playlist?list=...

    Just a small correction, the year was 1979 and the translator was myself, Joseph Kappel then Pabhakaro Bhikkhu.(below)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กันยายน 2017
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    Life with Ajahn Chah (1 of 2) by Ajahn Nyanadhammo

    photo.jpg kabes
    Published on May 26, 2011
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กันยายน 2017
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    . .
    Life with Ajahn Chah (2 of 2) by Ajahn Nyanadhammo

    [​IMG]

    [​IMG]
    [​IMG]
    kabes
    :-

    Uploaded on May 26, 2011
    Ajahn Nyanadhammo gives a Dhamma talk on what life was like living with Ajahn Chah. He tells many great stories of Ajahn Chah, and conveys how skillful a teacher he really was, always leading by example.

    The talk was given at the Ajahn Chah Remembrance Day on 16 January 2010 in Kuala Lumpur, Malaysia.

    The set of DVD's (Refuge in the Triple Gem), from which this talk was taken, has been sponsored for free distribution by generous supporters in Malaysia, with gratitude and respect for the Forest Sangha. If you wish to help such productions to continue to be made freely available, please contact sianmah@gmail.com.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 พฤษภาคม 2017
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    หลวงพ่อชาและหลวงพ่อสุเมโธ เผยแผ่พุทธศาสนาที่อังกฤษปี 2520

    vanillalulla :-
    Published on Oct 21, 2014
    The Buddha Comes to Sussex เป็นภาพยนตร์สารคดี ที่ BBC ได้ถ่ายทำในขณะที่ หลวงพ่อชา สุภัทโทและหลวงพ่อโรเบิร์ต สุเมโธ จาริกไปเผยแผ่พระธรรม ยังต่างแดน เมื่อปี พ.ศ.2520 บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ โดยได้รับเทป เป็นวีดีโอ จากวัดอมราวดี และได้ลิขสิทธิ์การเผยแพร่จาก BBC

    เทปสารคดีนี้เป็น 1 ใน 2 สารคดี (อีกสารคดีชื่อThe Mindful Way)ที่ทำให้เราได้มีโอกาสเห็นหลวงพ่อชาในอิริยาบทเคลื่อนไหว

    คลิปวีดีโอนี้ได้ถูกอัพโหลดจาก แผ่น DVD ที่ระลึกเนื่องในโอกาสมุทิตาสักการะอายุวัฒนมงคล 80 ปี พระราชสุเมธาจารย์หลวงพ่อสุเมโธภิกขุ

     
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    เข้าวัดทำไม @ หลวงปู่ชา สุภัทโท

    namo 125 :-
    Published on Mar 16, 2017
    หลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี การไม่กระทำบาปนั้นมันเลิศที่สุด บางคนบางคราว โจรมันก็ให้ได้ มันก็แจกได้ แต่ว่าจะพยายามสอนให้มันหยุดเป็นโจรนั้นน่ะ มันยากที่สุด การจะละความชั่วไม่กระทำผิดมันยาก การทำบุญ โจรมันก็ทำได้ มันเป็นปลายเหตุ การไม่กระทำบาปทั้งหลายทั้งปวงนั้นน่ะ เป็นต้นเหตุ" ธรรมโอวาทจาก พระโพธิญาณเถร หรือ "หลวงปู่ชา สุภัทโท" แห่งวัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี พระวิปัสสนาจารย์สายอีสาน ที่ได้รับความเลื่อมใสศรัทธาจากสาธุชนเป็นอย่างมาก ประวัติหลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อัตโนประวัติ หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) หรือ หลวงพ่อชา พระวิปัสสนาจารย์สายอีสาน นามเดิมว่า ชา ช่วงโชติ เกิดในสกุล ช่วงโชติ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2461 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายมาและนางพิมพ์ ช่วงโชติ ในช่วงวัยเยาว์ได้รับการศึกษาชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนบ้านก่อ ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี จนจบชั้นประถมปีที่ 1 แล้วได้ลาออกจากโรงเรียน มาช่วยงานครอบครัว ตามประวัติหลวงพ่อชา ท่านมีจิตฝักใฝ่ธรรมมาแต่เด็ก เมื่ออายุ 13 ปี โยมบิดาได้นำไปฝากกับเจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม เพื่อเรียนรู้บุพกิจเบื้องต้นเกี่ยวกับบรรพชาวิธี ก่อนได้รับอนุญาตให้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อเดือนมีนาคม 2474 โดยมีพระครูวิจิตรธรรมภาณี (พวง) อดีตเจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม จ.อุบลราชธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ การที่ท่านบวชแต่เยาว์วัยยังผลให้ท่านมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนทางโลกเพียงแค่ชั้นประถมปีที่ 1 อยู่จำพรรษาและศึกษาพระปริยัติธรรม ตลอดจนอยู่ปฏิบัติครูอาจารย์ เป็นเวลา 3 ปี ได้เอาใจใส่ต่อการท่องสวดมนต์ ทำวัตร ศึกษาหลักสูตรนักธรรมปฏิบัติพระเถระ แล้วจึงได้ลาสิกขาบทมาช่วยบิดามารดาทำไร่ทำนา ด้วยความจำเป็นของครอบครัวชาวไร่ชาวนาอีสาน แต่ด้วยจิตใจที่ใฝ่ในการ บวชเรียน จึงสำนึกอยู่ตลอดเวลาว่าจะต้องกลับมาอุปสมทบเป็นพระให้ได้ กระทั่งเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ได้เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2482 ณ พัทธสีมาวัดก่อใน ต.ธาตุ อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี โดยมีพระครูอินทรสารคุณ เป็นพระอุปัชาฌาย์, พระครูวิรุฬสุตการ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการสอน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลังอุปสมบท หลวงพ่อชา ท่านได้มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม จนสามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี ต่อมาท่านต้องการเรียนให้สูงขึ้นเพราะมีจิตใจรักชอบทางธรรมอยู่แล้ว แต่ขาดครูอาจารย์ในการสอนระดับสูงต่อไป ท่านจึงทุ่มเทให้การศึกษาทั้งนักธรรมและบาลี และผ่านสำนักต่างๆ มากมายจนในที่สุด สามารถสอบนักธรรมได้ครบตามหลักสูตร คือ สอบนักธรรมชั้นโทได้ ในสำนักของพระครูอรรคธรรมวิจารณ์ สอบนักธรรมชั้นเอก ได้ในสำนักวัดบ้านก่อนอก ครั้นเสร็จภารกิจการศึกษา ท่านได้หันมาสู่การปฏิบัติธรรม โดยออกธุดงค์และศึกษาหาแนวทางปฏิบัติในสำนักต่างๆ ผ่านพระอาจารย์มากมาย อาทิ หลวงปู่กินรี หลวงปู่เถระชาวเขมร พระอาจารย์คำดี พระอาจารย์มั่น รวมทั้งออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมตามป่าเขาลำเนาไพร เพื่อแสวงหาความหลุดพ้นตามรอบพระตถาคต ในที่สุด หลวงปู่ชา ท่านได้รับอาราธนาจากโยมมารดาและพี่ชาย ให้กลับไปโปรดที่บ้านเกิด เมื่อปี พ.ศ.2497 หลวงปู่ชาได้ดำเนินการสร้างวัดหนองป่าพง และดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดนี้มาโดยตลอด หลวงปู่ชา ได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรมและเผยแพร่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ทั้งในทวีปยุโรปและอเมริกา ในระยะแรกของการมาอยู่ป่าพงค่อนข้างลำบาก ชาวบ้าน ญาติโยมผู้ศรัทธาเข้ามาสร้างวัดเป็นกระท่อมเล็ก ๆ ให้ได้อาศัย ไข้ป่าชุกชุม เพราะเป็นป่าทึบ เมื่อเจ็บป่วยยารักษาก็หายาก โยมอุปัฏฐากยังน้อย อาหารการกินฝืดเคือง แต่กระนั้นหลวงพ่อก็ไม่เคยออกปากของญาติโยม แม้จะเลียบเคียงก็ยังไม่ยอมทำ ปล่อยให้ผู้พบเห็นพิจารณาด้วยตนเอง เดือนต่อมาเกิดสำนักชีขึ้นที่วัดเพื่อสนองคุณต่อโยมมารดาให้ได้ปฏิบัติธรรม โยมแม่พิมพ์จึงเป็นแม่ชีคนแรกของวัดหนองป่าพง และมีแม่ชีติดต่อกันมาถึงปัจจุบันเป็นจำนวนมากและทางวัดมีการแบ่งเขตสงฆ์เขต ชีไว้เรียบร้อยไม่ก้าวกายปะปนกัน วัดหนองป่าพง ได้รับอนุญาตให้สร้างในปี 2513 ปี 2516 หลวงพ่อได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองป่าพงและได้รับสมณศักดิ์เป็นพระ ราชาคณะที่ “ พระโพธิญาณเถร ” ปี 2519 สิ้นเงิน 5 ล้านบาท ปี 2520 ได้เดินทางไปประกาศสัจธรรมในภาคพื้นยุโรปเป็นครั้งแรกปี 2522 ได้เดินทางไปอังกฤษ อเมริกา คานาดา เพื่อประกาศสัจธรรม เป็นครั้งที่ 2 จนในที่สุด ย่างเข้าสู่วัยชราหลวงปู่ชา สุภัทโท สุขภาพร่างกายของท่านไม่แข็งแรงดังเดิม เป็นไปตามกฎแห่งไตรลักษณ์ หลวงปู่ชาถึงแก่มรณภาพอย่างสงบ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2535 เวลา 05.30 น. ท่านได้ละสังขารอันเป็นภาระหนักและทรมานที่อาพาธมานานไปโดยอาการอันสงบ ทุกวันนี้ วัดหนองป่าพง มีสถานที่เป็นที่เตือนใจของผู้ประสงค์จะนมัสการและรำลึกถึงหลวงปู่ชา คือ พิพิธภัณฑ์พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภัทโท) ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมประวัติและผลงานของท่านมารวมไว้ ผนังพิพิธภัณฑ์มีภาพชีวิตของท่านปรากฏ ตลอดจนรูปปั้นขี้ผึ้งของท่านเสมือนหนึ่ง หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง ยังมีชีวิตอยู่
     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    บ่วงมาร (ภาษาอีสาน ) @ หลวงปู่ชา สุภัทโท

    namo 125 :-
    Published on Mar 20, 2017
     
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    ปฏิบัติที่กาย ที่ใจ @ หลวงปู่ชา สุภัทโท

    photo.jpg
    namo 125 :-
    Published on Mar 19, 2017
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,047
    11. ชีวิตแต่งงาน ครอบครัว (ภาษาอีสาน ) @ หลวงปู่ชา สุภัทโท

    namo 125 :-
    Published on Mar 20, 2017
     

แชร์หน้านี้

Loading...