สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะรับมอบพระกรุลำพูนอายุ๕๐๐-๗๐๐ ปี

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย :::เพชร:::, 13 มีนาคม 2008.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    นำออกจากหมวดพระเครื่อง - วัตถุมงคล

    ผมจะย้ายไปที่หมวดศูนย์ ประชาสัมพันธ์ (ในห้องย่อยงานบุญอื่นๆ)


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD width="100%">PaLungJit.com > พลังจิต > ศูนย์ ประชาสัมพันธ์</TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG]งานบุญอื่นๆ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต
    อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง

    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต
    อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ

    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เองฯ

    หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม และพระอริยะสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยทางกาย หรอทางวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ...

    คาถาพระโมคคัลลาน์ประสานกระดูก
    <O:p
    เถโร โมคคัลลาโน อันตะระธายิตวา
    ภูมิสุขุมัง ปะระมาโน ภะคะวะโต
    อิทธิยา อัตตะโน สะรีเรมังสังโลหิตัง

    มูลเหตุของโครงการ"สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะรับมอบพระธาตุโมคคัลลานะ และพระกรุลำพูนอายุ ๕๐๐-๗๐๐ ปี" นี้ เกิดจากเมื่อคราวเดินทางไปกราบนมัสการพระที่วัดแห่งหนึ่ง(ขอสงวนนามเนื่องจากทางวัดไม่ได้เปิดเผยสถานที่แห่งนี้ไว้ในหนังสือ หรือเอกสารเผยแพร่อย่างเป็นทางการ)ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้มีโอกาสเดินทางไปกราบนมัสการเดินประทักษิณาวัตรรอบพระพุทธรูปบูชาโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นภายในศาลาหลังหนึ่ง ในครึ่งรอบของการเดินรอบแรกนั้นได้พบพระพุทธรูปองค์หนึ่งในลักษณะขาดเหลือครึ่งองค์ พนมพระหัตถ์ขึ้นวันทา โดยประดิษฐานอยู่ทางด้านหลังของพระประธานตามภาพที่เห็นนี้ ในระหว่างการเดินครบรอบแรก และรอบที่สองนี้ได้เกิดความรู้สึกสงสัยขึ้นมาว่า พระพุทธเจ้าองค์ใด เหตุใดจึงต้องยกพระหัตถ์ขึ้นวันทา จึงกำหนดจิตรู้ขึ้น ความรู้สึกบอกว่าเป็นพระโมคคัลลานะพระอัครสาวกเบื้องซ้าย ขณะนั้นเกิดความรู้สึกว่าปรารถนาจะบูรณะซ่อมแซมพระองค์ท่าน เมื่อประทักษิณาวัตรครบ ๓ รอบ จึงได้เข้าไปกราบนมัสการสอบถามหลวงพี่ผู้ดูแลรักษาศาลาหลังนี้ว่า พระพุทธรูปองค์ที่ประดิษฐานที่ด้านหลังพระประธานคือพระโมคคัลลานะหรือไม่?

    หลวงพี่ท่านจ้องมองแล้วพูดยิ้มๆว่า
    "ใช่ โยม เป็นพระโมคคัลลานะที่ถูกพม่าเผาทำลายเมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ ๒ ปีพ.ศ. ๒๓๑๐ มีอายุถึงบัดนี้ประมาณ ๕๐๐ ปี เมื่อราว ๓ ปีก่อน(ขณะรับทราบข้อมูลเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๐)ทางเจ้าหน้าที่กรมศิลปากร ๒ ท่าน ได้มีโอกาสมาพบ และได้แจ้งขอขึ้นทะเบียนเป็นพระพุทธรูปโบราณไว้"

    ผมจึงได้ขอปวารณาตัวจะขอบูรณะซ่อมแซมพระโมคคัลลานะองค์นี้

    หลวงพี่ท่านได้กล่าวสั้นๆว่า
    "เมื่อวาระมาถึง จะมีบริวาร หรือเป็นสาวกที่เคยติดตามของพระท่านมาดำเนินการให้เหมาะสมในกาลข้างหน้า"

    นับตั้งแต่วันนั้น ผมได้เข้าไปติดตามสอบถามทั้งทางวัด และทางกรมศิลปากรถึงโอกาสที่จะบูรณะ แต่ก็ไม่ได้รับคำตอบแต่อย่างใด เนื่องจากไม่มีผู้ที่ได้รับมอบหมายอย่างจริงจัง การสร้างบุษบกประดิษฐานจึงเกิดจากจุดนี้ อีกทั้งเป็นการยกองค์ท่านให้สูงขึ้นจากเดิมกว่าระดับเท้าขึ้นมา แต่ก็ไม่สามารถจะยกขึ้นสูงกว่าระดับยอดพระเกศของพระพุทธรูปในศาลาหลังนี้ได้ ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง...

    เกี่ยวกับพระธาตุโมคคัลลานะ
    งานบุญสร้างบุษบกนี้ ผมได้อัญเชิญพระธาตุโมคคัลลานะจำนวน ๗๘๓ องค์เพื่อมอบให้แก่ผู้ร่วมบุญทุกท่าน โดยมอบให้ท่านละ ๓ องค์ ซึ่งพระธาตุโมคคัลลานะจำนวน ๓ องค์นี้จะถูกแบ่งเป็น ๓ ส่วนดังนี้

    ๑.มอบให้ผู้ร่วมบุญไว้ใส่ผอบสักการะบูชายังที่พักอาศัยจำนวน ๑ องค์ รวม ๒๖๑ องค์


    ๒.พระธาตุโมคคัลลานะองค์ที่ ๒ ของผู้ร่วมบุญสร้างบุษบกนี้ จะอัญเชิญใส่ผอบประดิษฐานยังบุษบกโดยตรงเพื่ออานิสงค์ของการถวายพระธาตุโมคคัลลานะ พระอัครสาวกเบื้องซ้าย ยังบุษบกที่ประดิษฐานพระโมคคัลลานะที่ร่วมกันสร้างนี้โดยตรง รวม ๒๖๑ องค์


    ๓.พระธาตุโมคคัลลานะองค์ที่ ๓ ของผู้ร่วมบุญสร้างบุษบกนี้ จะอัญเชิญใส่ผอบประดิษฐานยังพระธาตุเจดีย์ที่กำลังก่อสร้างจำนวนที่เลือกไว้ ๙ แห่ง ซึ่งผู้ร่วมบุญจะเป็นผู้ระบุเองว่าปรารถนาจะให้บรรจุไว้ยังพระธาตุเจดีย์องค์ใดในรายชื่อ ๙ แห่งนี้เปรียบเสมือนท่านเป็นผู้บรรจุพระธาตุยังพระเจดีย์เอง เพื่ออานิสงค์ของการร่วมบรรจุพระธาตุอรหันต์สาวกยังพระธาตุเจดีย์โดยตรง รวม ๒๖๑ องค์


    พระธาตุโมคคัลลานะรวมจำนวนทั้งหมด ๗๘๓ องค์ จึงได้ถูกแบ่งมอบ/อัญเชิญไว้ยังสถานที่ต่างๆดังกล่าวแล้วข้างต้น รายละเอียดของพระธาตุเจดีย์จะแจ้งให้ทราบในความเห็นที่ ๓-๔-๕-๖

    *** พระธาตุโมคคัลลานะได้อัญเชิญเข้าพิธีพุทธาภิเษกเสาร์ ๕ วันเสาร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๐ เรื่องราวนี้จะค่อยๆเปิดเผยในภายหลังอีกครั้ง สรุปคือไม่ธรรมดาครับ

    เกี่ยวกับพระกรุลำพูนอายุ ๕๐๐-๗๐๐ ปี
    งานบุญสร้างบุษบกนี้ ผมได้นำพระกรุลำพูน จำนวน ๑๑๑ องค์ มามอบให้ผู้ร่วมบุญทุกท่าน โดยแบ่งพระกรุลำพูน ออกเป็น ๒ ส่วน คือ

    พระภายนอก
    ๑. พระกรุลำพูนจำนวน ๑๐๑ องค์ เป็นส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับการสร้างบุษบกโดยตรง ท่านสามารถชม และบูชาได้ตามความเห็นที่ ๑๐-๒๙ ตาม link นี้ครับ

    พระภายใน
    ๒. พระกรุลำพูนจำนวนอีก ๑๐ องค์ซึ่งผมจะให้บูชาเพียงพระรอด พิมพ์ใหญ่เท่านั้น เป็นส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับการร่วมบุญธรรมทาน และค่าจัดส่ง EMS แก่ผู้วมบุญทุกท่านจนกว่าจะจัดส่งพระเครื่อง และCD+DVD จำนวน ๙๙ ชุด แล้วเสร็จ

    ส่วนนี้นับเป็นส่วนที่สำคัญมาก เป็นที่ทราบกันดีว่า กิจกรรมใดๆก็ตามแต่ของการมอบพระเครื่องนี้ จะไม่สามารถประหยัดค่าจัดส่งทาง EMS ได้เลย และผมก็ไม่ประสงค์จะรบกวนค่าจัดส่ง EMS จากเพื่อนๆอีก จึงได้แบ่งพระรอด พิมพ์ใหญ่ กรุลำพูน จำนวน ๑๐ องค์ พร้อมCD(เสียงหลวงพ่อฤาษีลิงดำ)+DVD(ภาพ และเสียงหลวงพ่อฤาษีลิงดำ)จำนวนรวม ๔ แผ่นต่อ ๑ ชุด มอบให้กับผู้ร่วมบุญธรรมทานจำนวนเพียง ๑๐ ท่านเท่านั้น

    CD+DVD ธรรมทานจำนวน ๙๙ ชุดๆละ ๔ แผ่นนี้ มีความพิเศษเป็นอย่างมาก ผู้ที่ได้รับมอบสมควรภาคภูมิใจ เนื่องจากเป็นคำสอน-กรรมฐานในกองที่เกี่ยวเนื่องกับพระสารีบุตร-พระโมคคัลลานะโดยตรง อีกทั้งเป็นการจัดทำเพื่อเป็นธรรมทาน และเป็นการ screen ปกหน้าหลัง และscreen แผ่น CD+DVD ที่สวยงามมาก ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเป็นที่ระลึกของการร่วมบุญสร้างบุษบก และร่วมบุญธรรมทาน ค่าจัดส่งอำนวยความสะดวกให้เพื่อนๆท่านอื่นไม่เพียงแต่พระเครื่อง แต่รวมไปถึงการจัดส่ง CD+DVD ทาง EMS ให้แก่ผู้แจ้งขอรับแบบให้เปล่า โดยถือว่ามีผู้ร่วมบุญธรรมทานมาช่วยกัน ๑๐ ท่านครับ

    ดังนั้นจำนวนCD+DVD ๙๙ ชุดนี้ แบ่งการมอบดังนี้
    ๑. CD+DVD ๑๐ ชุด พร้อมพระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่ ๑๐ องค์ มอบให้ผู้ร่วมบุญธรรมทาน และค่าจัดส่ง EMS ชุดละ ๓,๐๐๐ บาท

    ๒. CD+DVD ๑๑ ชุด เป็นธรรมทานมอบให้กับผู้มีพระคุณแบบให้เปล่า

    ๓. CD+DVD ๗๘ ชุด มอบให้เพื่อนๆทุกท่าน วันละ ๔ แผ่น ผู้แจ้งความประสงค์ในกระทู้ก่อนจะได้รับสิทธิ์นั้นก่อน เพียงท่านละ ๑ ชุดเท่านั้น(ผู้ที่ได้รับแล้วขอความกรุณา โปรดอย่าได้แจ้งการขอรับซ้ำนะครับ อยากให้ได้รับกันครับ)โดยแบ่งเป็นรอบเวลาดังนี้ หากเวลาของกระทู้ทั้ง ๒ ตรงกันให้ถือว่ากระทู้พระเครื่องเป็นอันดับ ๑ ก่อนครับ เพื่อความเข้าใจตรงกัน

    วันที่ ๑๓ มีค ๒๕๕๑(วันนี้) ช่วงบ่ายเวลา ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. มอบให้ ๒ ชุด

    วันที่ ๑๔ มีค - ๑ เมย. ๒๕๕๑ ช่วงเช้าเวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. มอบให้ช่วงเวลาละ ๒ ชุด รวม ๔ ชุดต่อวัน

    รายละเอียดสามารถติดตามได้ที่ความเห็นที่ ๓๐ ตาม link นี้ครับ

    ข้อมูลที่ตั้งใจนำเสนอให้สมบูรณ์มากที่สุดอาจจะไม่สามารถทำให้สมบูรณ์ได้ภายในชั่วเวลาสั้นๆเพียงวัน หรือ ๒ วัน จึงขออภัยเพื่อนๆด้วยนะครับ หากดำเนินการไม่ทันใจทุกท่าน พอดีช่วงนี้มีงานยุ่งๆที่บริษัทอยู่บ้าง เลยต้องเจียดเวลาทำอย่างอื่นบ้างครับ

    บางเรื่องราวจากตำรับตำรา หรือภาพางภาพจากเวบไซด์อื่นๆที่สงวนลิขสิทธิ์ของภาพไม่สามารถนำมา post เพื่อให้เพื่อนๆเห็นภาพที่วงการสะสมกัน ก็ต้องขออภัยด้วยจริงๆ ผมพยายามจะไม่ละเมิดสิทธิทางปัญญาของคนอื่น หากมีการนำมาอ้างอิงบางช่วงก็จะเอ่ย หรือให้ข้อมูลที่มาว่ามาจากไหน จะเป็นการสมควรกว่านะครับ

    บางเรื่องราวที่ดูแล้วขัดแย้งกันอย่างไม่สมเหตุผล ผมก็จะไม่นำมาลง เพราะอาจจะทำให้เกิดสับสนขึ้น ผมทราบดีว่า เมื่อเอ่ยถึงพระกรุลำพูน แทบทุกท่านจะนึกถึงพระรอด กรุวัดมหาวันขึ้นมาทันที เนื่องจากว่าเป็นพระเครื่องยอดนิยมหนึ่งในพระเบญจภาคีที่แทบทุกท่านใฝ่หา แต่จะมีซักกี่คนที่จะมีวาสนาได้รับพระเครื่องที่มีอายุถึง ๑,๓๐๐ ปี ซึ่งต้องแลกกับมูลค่าหลักล้านต่อองค์ และยังไม่ทราบว่าจะจริงแท้ประการใด

    หรือว่า พระลำพูนจะมีเพียงวัดมหาวันเท่านั้น?

    หรือลำพูนจะมีเพียงพระรอดเท่านั้น?

    เหล่านี้คือโจทย์ที่ท่านผู้สนใจพระกรุลำพูนทั้งหลายสนใจ และพยายามค้นหาคำตอบกัน การศึกษาพระโบราณทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นพระกรุลำพูน หรือพระวังหน้าที่มีอายุประมาณ ๑๕๐ ปี หรือกรุอื่นๆก็ตาม ก็ควรจะต้องศึกษาจากร่องรอยของประวัติศาสตร์ต่างๆ การศึกษาประวัติศาสตร์ของเมืองลำพูนนี้มีที่มาอย่างไร หากเราไม่เข้าใจตรงประเด็นนี้ เราจะหลงทาง บางท่านไม่รักประวัติศาสตร์ แต่ชอบฟันธงให้แน่นอนกันไปเลยว่าพิมพ์ทรงถูกต้อง หรือไม่ถูกต้อง ทั้งๆที่เกิดไม่ทันยุค ๕๐๐ ปี ถึง ๑,๓๐๐ ปี ตำแหน่งแห่งที่ของการเผา ใกล้ไฟก็สีหนึ่ง ไกลจากไฟก็อีกสีหนึ่ง เหล่านี้กลับกลายเป็นกฎเกณฑ์ของการนำไปกำหนดสนนราคาว่าหายาก หรือหาง่าย ทั้งๆที่บางทีเป็น lot เดียวกัน และเขาเผากันยังไง? การบิดตัว การหดตัวของดินเผาภายในกรุที่ผ่านความร้อนของแสงอาทิตย์ ความเย็นของอุณหภูมิที่ลดต่ำลง มาร่วมร้อยๆปี เป็นอย่างไร มี pattern การเกิดแบบเดียวหรือ? ช่างตลกสิ้นดี! พี่น้องฝาแฝดยังมีจุดแตกต่างให้สังเกตุได้

    ยังมีอีกมากมายครับ อีกซักครู่หากย้อนกลับไปที่พระพิมพ์อาจจะได้ updated ก็อาจจะเห็นชื่อพระพิมพ์ที่ไม่คุ้นหู บ้างก็ว่าไม่มี.. อะไรทำนองนี้ ซึ่งหากสามารถอธิบายให้สมเหตุสมเหตุได้ก็จะเป็นการดี

    ผมคงจะไม่เรียกตามชาวบ้าน หรือที่เรียกว่าวงการเรียกกัน ผมให้ความสนใจที่ความหมายของสิ่งที่เราเรียกกันมากกว่าสิ่งที่วงการกล่าวขาน เพราะผมไม่มีเจตนาจะไปทำแข่งกับวงการ แต่มีเจตนาจะจรรโลงให้ความรู้ในสิ่งที่สมเหตุสมผล อธิบายได้ และเพื่องานสร้างบุษบกถวายพระโมคคัลลานะท่าน ซึ่งผมเองก็มีเจตนาจะเพิ่มคุณค่าของสิ่งที่ตนเองได้ลงมือ ลงแรงกาย ลงแรงใจกระทำจนมาถึงวันนี้ เพื่ออีกเหตุผลหนึ่งที่ได้นำเอาพระกรุลำพูนนี้มามอบกับผู้ร่วมบุญสร้างบุษบกนี้ และพร้อมด้วยอานิสงค์หลากหลายที่พยายามให้เพื่อนๆได้ร่วมในอานิสงค์นี้อย่างครบถ้วน เต็มกำลังที่สุด ทั้งการบรรจุพระธาตุโมคคัลลานะยังบุษบก และพระธาตุเจดีย์ทั้ง ๙ แห่ง อีกทั้งบุญธรรมทานที่หาประมาณไม่ได้นี้

    สุดท้ายนี้ผมได้เตรียมงานนี้มาปีเศษ ปราณีตในทุกรายละเอียด เพื่อเจตนาสร้างบุญละเอียดในครั้งนี้ และสิ่งหนึ่งคือการน้อมถวายอุทิศส่วนกุศลทั้งหมดทั้งสิ้นนี้แด่องค์อัครปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญไชย กษัตราธิราชทุกๆพระองค์ พระฤาษี นักบวช โหราราชบัณฑิต แพทย์ ช่าง ฯลฯ ผู้ทรงสร้าง และมีส่วนในการสร้างเมืองหริภุญไชย จนมีอายุสืบกันมายาวนานมากกว่า ๖๐๐ ปี และบูรพกษัตราธิราชในสมัยอยุธยาทุกๆพระองค์ ทหารหาญ ไพร่พล ชาวบ้านทุกผู้คน ที่ได้ปกป้องกรุงศรีอยุธยาราชธานีทั้ง ๒ ครั้งใหญ่ๆซึ่งมีความเกี่ยวพันกับพระโมคคัลลานะองค์นี้ที่ถูกพม่าเผาทำลาย เสมือนหนึ่งทุกๆท่านได้ร่วมกันถวายการสร้างบุษบกนี้แด่พระอัครสาวกเบื้องซ้ายของสมเด็จพระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเอง

    นี่ คื อ จิ ต เ จ ต น า ข อ ง ก า ร ส ร้ า ง บุ ษ บ ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ โ ม ค คั ล ล า น ะ ใ น ค รั้ ง นี้ ค รั บ...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กุมภาพันธ์ 2009
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอสงวนพื้นที่ไว้เพื่อบันทึกเรื่องราวของ
    -พระโมคคัลลานะพระอัครสาวกเบื้องซ้าย
    -ภาพบุษบก
    -ภาพพระโมคคัลลานะที่ประดิษฐานยังบุษบกเป็นที่เรียบร้อย

    ประมวลภาพก่อนสร้างบุษบก
    - รูปทรงของบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะนี้ อาจจะแตกต่างจากบุษบกทั่วไปที่เราท่านที่เคยเห็นมาในรูปทรงในแนวตั้ง แต่เนื่องจากพระโมคคัลลานะองค์นี้เป็นแนวนอนครึ่งองค์ การจัดสร้างบุษบกจึงต้องมีลักษณะตามแนวนอน ในลักษณะครึ่งองค์เช่นกัน

    -ต้องเหลือพื้นที่ไว้ประดิษฐานผอบบรรจุพระธาตุโมคคัลลานะจำนวน ๒๖๑ องค์ ซึ่งผอบนี้ต้องมีขนาดที่ใหญ่กว่าปกติทั่วไป ซึ่งหากไม่สามารถสั่งทำพิเศษได้ อาจจะต้องใช้โถเบญรงค์ทดแทนซึ่งก็ไม่สามารถจะมองเห็นพระธาตุโมคคัลลานะได้

    -ข้อจำกัดอีกข้อคือ พื้นที่ด้านซ้าย(ด้านพระเศียร) และด้านขวานั้นสามารถขยายได้ไม่จำกัด แต่ไม่เกิดประโยชน์อย่างไรมาก พื้นที่ด้านหลังพระประธานจรดติดกับหน้าต่างของศาลานี้ เท่าที่เคยคำนวณวัดพื้นที่ส่วนนี้ไว้ จะมีความกว้างโดยประมาณเพียงไม่เกิน ๒ เมตร และต้องเผื่อพื้นที่ด้านติดหน้าต่างไว้สำหรับเดินได้รอบ ประมาณ ๖๐ ซ.ม. ดังนั้นคาดว่าจะเหลือพื้นที่ด้านหลังพระประธานจรดอาณาเขตที่จัดสร้างได้ไม่เกิน ๑ เมตร ๔๐ ซ.ม. โดยพื้นที่ของขอบโดยรอบต้องไม่เกินกว่า ๑๕ ซ.ม. จะเหลือพื้นที่เพียงพอสำหรับบรรจุประดิษฐานพระโมคคัลลานะ และพื้นที่วางผอบพระธาตุ ประมาณ ๑ เมตร ๒๕ ซ.ม.

    -บังคับความสูงของบุษบกได้ไม่เกินความสูงของพระประธาน ดังนั้นรูปทรงที่เหมาะสมด้านบนของบุษบกหลังนี้ จึงควรเป็นแนวราบ และแกะลายรอยๆบุษบก และเสายกทั้ง ๔ ต้นโดยรอบทั้งหมด

    -แต่เดิมเคยคิดว่าจะจัดสร้างครอบแก้ว(คล้ายฝาชี)ใส คลุมองค์พระไว้ทั้งหมดเพื่อป้องกันการปิดทองของผู้มีจิตศรัทธา แต่ไม่ได้ใช้ความระมัดระวัง พลอยทำให้เนื้อปูนที่ร่อนหลุดนี้กลับเสียหายหนักขึ้นไปอีก จึงกลายเป็นทำบุญเจือบาปทั้งๆที่สามารถจะหลีกเลี่ยงกรรมนี้ได้ และยังเป็นการป้องกันฝุ่นละอองจับเกาะองค์พระ แต่ด้วยข้อจำกัดมากมาย เช่นด้านพระเศียรมีมุมราบที่เล็ก ส่วนด้านกลางลำตัวที่ขาดครึ่งองค์นี้มีความกว้าง และใหญ่ รูปทรงครอบแก้ว จึงมีความแปลกอย่างยิ่ง ยากแก่การสั่งทำ และไม่มีผู้ใดรับทำ

    ด้วยภาพที่นำมาให้ชมกันนั้น ผมได้ถ่ายภาพตู้พระไตรปิฎกแบบโบราณ ธรรมมาสน์ พระพุทธรูปโบราณ ทั้งหลายเหล่านี้เมื่อประมวลกันขึ้นมาแล้ว จะต้องสอดรับกับอายุความเก่าขององค์พระโมคคัลลานะร่วม ๕๐๐ ปีนี้ ด้านบนสุดของบุษบกที่เป็นพื้นราบ จะประดิษฐานพระพุทธรูปโบราณเอาไว้ ๓ องค์ รอบๆต้องแกะลาย ราคาของบุษบกจะขึ้นกับความยากง่าย และลวดลายความละเอียดของการแกะสลัก และซ่อนไฟ Down light และสายไฟไว้ภายในทั้งหมด

    -เมื่อสำเร็จแล้ว จะต้องสั่งทำ"อาสนะ"รองรับองค์ท่าน แต่ต้องไม่หนาจนเกินไป เพราะเมื่อยกขึ้นแล้ว พระหัตถ์ที่ยกขึ้นวันทาของพระท่านอาจจะอยู่ชิดพื้นที่ด้านบนของบุษบกเกินไป

    -และสุดท้ายคือ"ผ้าห่มไหม"คลุมองค์พระ...

    นี่คือแผนที่วางไว้ครับ

    นำมาให้ชมกัน ๓ ส่วนซึ่งช่างใหญ่กระจายให้ชาวบ้านรับงานไปทำ ๓ ครัวเรือน จากทั้งหมด ๑๐ ครัวเรือน ...

    ส่วนนี้เป็น..ด้านบนของบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ..
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
    ส่วนที่ ๒ นี้เป็น..ด้านฐานล่างของบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ ชิ้นนี้สวยงามมากเพราะได้อดีตช่างกรมศิลปากรจัดสร้างให้ ถือว่าฝีมือดีที่สุดในกลุ่มผู้จัดสร้าง..
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
    ส่วนที่ ๓ นี้เป็น..ด้านล่างของบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
    updated การจัดสร้างเมื่อวันที่ ๒๔ ส.ค. ๒๕๕๑
    <!-- / message --><!-- attachments -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]



    </FIELDSET>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 สิงหาคม 2008
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอนำผอบแก้วใสสำหรับบรรจุพระธาตุโมคคัลลานะจำนวน ๘ ใบ(อีก ๑ ใบได้ทำการบรรจุพระธาตุพระโมคคัลลานะถวายหลวงพ่อวิริยังค์ เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคลเป็นวัดแรกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว)มาให้ชมกัน เป็นขนาดที่ค่อนข้างใหญ่พอดีกับจำนวนพระธาตุจำนวน ๒๙ องค์

    และขอปิดการมอบพระธาตุโมคคัลลานะตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบของเวปพลังจิต และหมดวาระของการมอบตั้งแต่นี้เป็นต้นไป โดยผมจะขอบรรจุเองทั้งหมดให้ครบในอีก ๕ พระธาตุเจดีย์ ซึ่งช่วงปลายเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ผมได้เดินทางไปถวายพระธาตุโมคคัลลานะกับหลวงพ่อวิริยังค์ เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคลเป็นวัดแรกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนอีก ๘ พระธาตุเจดีย์จะดำเนินการเดินทางไปถวายให้ครบครับ



    พระธาตุโมคคัลลานะ สันฐานพิเศษ ที่หาพบได้ยาก มีขนาดที่ใหญ่กว่าที่พบโดยทั่วไป

    - มอบให้กับผู้ร่วมบุญสร้างบุษบก ๕๐๐ บาท โดยมอบให้ท่านละ ๓ องค์ ซึ่งพระธาตุโมคคัลลานะจำนวน ๓ องค์นี้จะถูกแบ่งเป็น ๓ ส่วนดังนี้

    ๑.มอบให้ผู้ร่วมบุญไว้ใส่ผอบสักการะบูชายังที่พักอาศัยจำนวน ๑ องค์ รวม ๒๖๑ องค์

    ๒.พระธาตุโมคคัลลานะองค์ที่ ๒ ของผู้ร่วมบุญสร้างบุษบกนี้ จะอัญเชิญใส่ผอบขนาดใหญ่ประดิษฐานยังบุษบกโดยตรงเพื่ออานิสงค์ของการถวายพระธาตุโมคคัลลานะ พระอัครสาวกเบื้องซ้าย ยังบุษบกที่ประดิษฐานพระโมคคัลลานะที่ร่วมกันสร้างนี้โดยตรง รวม ๒๖๑ องค์

    ๓.พระธาตุโมคคัลลานะองค์ที่ ๓ ของผู้ร่วมบุญสร้างบุษบกนี้ จะอัญเชิญใส่ผอบแก้วเบอร์ ๕ประดิษฐานยังพระธาตุเจดีย์ที่กำลังก่อสร้างจำนวนที่เลือกไว้ ๙ แห่ง ซึ่งผู้ร่วมบุญจะเป็นผู้ระบุเองว่าปรารถนาจะให้บรรจุไว้ยังพระธาตุเจดีย์องค์ใดในรายชื่อ ๙ แห่งนี้เท่านั้นเปรียบเสมือนท่านเป็นผู้บรรจุพระธาตุยังพระเจดีย์เอง เพื่ออานิสงค์ของการร่วมบรรจุพระธาตุอรหันต์สาวกยังพระธาตุเจดีย์โดยตรง รวม ๒๖๑ องค์ใน ๙ แห่ง

    พระธาตุโมคคัลลานะรวมจำนวนทั้งหมด ๗๘๓ องค์ จึงได้ถูกแบ่ง และมอบ/อัญเชิญไว้ยังสถานที่ต่างๆดังกล่าวแล้วข้างต้น

    ***พระธาตุโมคคัลลานะชุดนี้ได้อัญเชิญเข้าพิธีพุทธาภิเษกเสาร์ ๕ วันเสาร์ที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๐ เรื่องราวนี้จะค่อยๆเปิดเผยในภายหลังอีกครั้ง สรุปคือไม่ธรรมดาครับ...

    เหตุการณ์ในระว่างพิธีพุทธาภิเษกไม่ขอบอกเล่า เนื่องจากเป็นเรื่องอจินไตยเหลือเชื่อ บุคคลที่อยู่ในพิธีดังกล่าวล้วนมีตัวตนจริง และเอ่ยอ้างได้ เพียงแต่ต้องขออนุญาตท่านผู้นั้นเสียก่อน จึงมิสู้ขอเว้นไว้ไม่ขอเอ่ยถึงจะดีกว่าครับ

    เหตุการณ์ที่ ๑
    ภายหลังจากเวลาพิธีพุทธาภิเษก ผมได้อัญเชิญพระธาตุโมคคัลลานะไปให้อาจารย์ปู่ประถม อาจสาคร ชมกระแสบารมี จำได้ว่าท่านใช้นิ้วนาง สลับกับนิ้วกลาง จรดกับนิ้วโป้ง สัมผัสที่องค์พระธาตุโมคคัลลานะ (เวลานั้นผมยังไม่ได้แจ้งอาจารย์ปู่ประถมว่าเป็นพระธาตุแต่อย่างใด) เพียงครู่เดียวท่านกล่าวว่า ฌาน ๒ พลังพุ่งปรู๊ดเลย...(พูดขณะสัมผัสอยู่) แต่...ฌาน ๔ กลับว่าง.....เออ! ต้องว่างถึงจะอนัตตาเนอะ(ท่านพูดพร้อมกับยิ้มๆ และส่งพระธาตุโมคคัลลานะกลับคืน) ผมได้ขอขมาพระท่าน พร้อมแจ้งความประสงค์กับอาจารย์ปู่ถึงการนำมามอบให้ผู้ร่วมบุญบูรณะองค์พระโมคคัลลานะ(เวลานั้นยังไม่ทราบว่า ไม่สามารถจะบูรณะได้ เวลานี้เมื่อทราบว่าไม่สามารถจะบูรณะได้ จึงน้อมถวายการสร้างบุษบกนี้เพื่อประดิษฐานองค์ท่านแทน) เพื่อให้มั่นใจว่าได้มอบพระธาตุโมคคัลลานะที่พิเศษสุดนี้แก่ทุกท่าน และอัญเชิญบรรจุยังบุษบก และพระธาตุเจดีย์ ๙ แห่ง..

    เหตุการณ์ที่ ๒
    .....(ขอเว้นไว้ก่อนครับ)

    เหตุการณ์ที่ ๓
    ....(ขอเว้นไว้ก่อนครับ)


    เงื่อนไขการแจ้งความประสงค์ขอบรรจุไว้ยังพระธาตุเจดีย์ที่กำลังก่อสร้างแล้วเสร็จ หรือยังไม่แล้วเสร็จนี้ หากเพื่อนท่านใดแจ้งขอบรรจุไว้ครบถ้วนแห่งละ ๒๙ องค์ แล้ว จะไม่สามารถเลือกบรรจุยังพระธาตุเจดีย์แห่งนั้นได้ จะต้องไปเลือกบรรจุยังพระธาตุเจดีย์อื่นที่เหลือตามวาระของผู้นั้น ดังนั้นจึงต้องรีบกันหน่อยครับ

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    แห่งที่ ๑ พระมหาเจดีย์พุทธบูชา
    หลวงพ่อท่านเจ้าคุณพระราชภาวนาพินิจ (หลวงพ่อสนธิ์ อนาลโย) ท่านเป็นศิษย์หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่หล้า เขมปัตโต และยังได้อุปัฎฐากหลวงปู่เทส เทสรังสี เมื่อครั้งนำกองทัพธรรมไปเผยแพร่ที่ภาคใต้ ทางภูเก็ต พังงา กระบี่ อีกด้วย ท่านมีวัตรปฏิบัติที่งดงาม เมตตาต่อญาติโยมไม่เลือกชั้นวรรณะ

    ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างพระมหาเจดีย์พุทธบูชา

    วัดพุทธบูชา แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร
    <O:p</O:p
    วัดพุทธบูชา ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2499 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2499 กำหนดเขตกว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีพรุทธวิริยากร (เพิ่ม กตปุญโญ) เป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธบูชารูปแรก <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    พระประธานประจำอุโบสถของวัดพุทธบูชา คือ พระพุทธชินราชจำลอง มีขนาดเท่าองค์จริง มีหน้าตักกว้าง 5 ศอก 1 คืบ 5 นิ้ว (2.875 เมตร) หล่อด้วย ทองสัมฤทธิ์ น้ำหนักประมาณ 3 ตัน มีพุทธลักษณะที่งดงามมาก<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ปัจจุบันพระราชภาวนาพินิจ (หลวงพ่อสนธิ์ อนาลโย) เป็นเจ้าอาวาสวัดพุทธบูชา รูปที่ 5 (ตั้งแต่ 16 มกราคม 2542 ถึงปัจจุบัน)

    ท่านเจ้าคุณพระราชภาวนาพินิจ (หลวงพ่อสนธิ์ อนาลโย) เจ้าอาวาสวัดพุทธบูชา ได้ปรารถกับคณะศิษยานุศิษย์ว่า วัดพุทธบูชาควรมีเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้ประชาชนได้เคารพสักการะและจัดเป็นสถานที่สำหรับพระสงฆ์ และฆราวาสปฏิบัติธรรม ในการนี้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้เป็นผู้ออกแบบ “พระมหาเจดีย์พุทธบูชา” ซึ่งมีขนาดกว้าง 16x16 เมตร สูง 38 เมตร มีทั้งหมด 3 ชั้น

    ชั้นที่ 3 เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันตธาตุ
    ชั้นที่ 2 เป็นที่ประดิษฐานพระประธาน
    ชั้นที่ 1 เป็นสถานที่ทำวิปัสสนากรรมฐานของพุทธศาสนิกชนทั่วไป

    ขณะนี้ได้ทำพิธีวางศิลาฤกษ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้าง ซึ่งต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก จึงขอเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมบริจาคเพื่อสร้างพระมหาเจดีย์พุทธบูชา ให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ อันจะเป็นกุศลยิ่งแก่ทุกท่านและครอบครัว

    ผู้มีจิตศรัทธาจะร่วมบริจาคติดต่อหรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

    พระราชภาวนาพินิจ (เจ้าอาวาสวัดพุทธบูชา) โทร. 02-426-3667
    พระมหาบุญทัม คุตตบุญโญ โทร. 02-426-3783
    พระครูสุนทรวินัยวัฒน์ โทร. 02-847-8108, 081-3751313 <O:p</O:p
    คุณปรีดา โทร. 02-426-3977<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    หรือบริจาคโดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ <O:p</O:p
    ธนาคารกรุงเทพ สาขาประชาอุทิศ <O:p</O:p
    ชื่อบัญชี "พระราชภาวนาพินิจ" <O:p</O:p
    เลขที่บัญชี 235-0-60926-5

    [​IMG][​IMG]
    ภาพจาก larndham.net/<WBR>index.php?showtopic=23983&view=new

    แห่งที่ ๒ พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง




    แห่งที่ ๓ พระธาตุเจดีย์ไตรภูมิ




    - รายชื่อของผู้แจ้งความประสงค์ขอบรรจุยังพระธาตุเจดีย์แห่งที่ ๑-๓ ตามลำดับว่าผู้ใดแจ้งความประสงค์ก่อนหลัง

    พระมหาเจดีย์พุทธบูชา (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    พระธาตุเจดีย์ไตรภูมิ (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  5. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    แห่งที่ ๔ พระเจดีย์หลวงใหญ่
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#d1fdcc rowSpan=5></TD><TD vAlign=top width=225 bgColor=#d1fdcc height=25><!--DWLayoutEmptyCell--></TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#d1fdcc rowSpan=5><!--DWLayoutEmptyCell--></TD><TD vAlign=top width=505 bgColor=#d1fdcc><!--DWLayoutEmptyCell--></TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#d1fdcc rowSpan=5><!--DWLayoutEmptyCell--></TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#d1fdcc height=150>[​IMG]</TD><TD vAlign=top bgColor=#d1fdcc rowSpan=3>วัดป่าศรีถาวรนิมิตเป็นวัดในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิถาวร จิตตถาวโร-วงศ์มาลัย ตั้งอยู่ที่บ้านบุ่งเข้ ตำบลหนองแสง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก จากตัวเมืองแยกซ้ายมือจากถนนสุวรรณศร ไปตามทางหลวงสายนครนายก-ท่าด่าน (ถนนสาย3239) ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร มีทางแยกขวามือเข้าไปอีกประมาณ 6 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 350 ไร่ อยู่ติดกับเทือกเขาใหญ่ เป็นที่ราบรายล้อมด้วยภูเขาน้อยใหญ่ บริเวณโดยรอบประกอบด้วยไม้ยืนต้น ร่มรื่น เงียบสงบ มีกุฏิปฏิบัติธรรมจำนวนมาก สำหรับพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา และประชาชนผู้สนใจปฏิบัติธรรม ในบริเวณนี้ยังมีโครงการเมืองสหกรณ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีการทำสวนผักปลอดสารพิษและนาข้าวโดยใช้ระบบเกษตรธรรมชาติ นอกจากนี้ บริเวณใกล้เคียงมีอ่างเก็บน้ำคลองสีเสียด มีภูมิทัศน์โดยรอบสวยงามตามธรรมชาติ ให้ท่านได้พักผ่อน ติดต่อเข้าพักปฏิบัติธรรมได้ที่ 037-308366 หรือ 037-308372



    </TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#d1fdcc height=25><!--DWLayoutEmptyCell--></TD></TR><TR><TD vAlign=top bgColor=#d1fdcc height=313>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.gerd.eng.ku.ac.th/thadandam/visitor_area/travel_info/travel_info.php
    ขณะนี้ทางวัดกำลังสร้างพระเจดีย์หลวงใหญ่ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุของครูบาอาจารย์ต่าง ๆ และจะเป็นพระอุโบสถเพื่อทำ สังฆกรรมของพระภิกษุ ปัจจุบันสร้างเสร็จไปแล้วประมาณ 60 %

    แห่งที่ ๕ วิหารจตุรมุข กลางสระน้ำ
    วัดตุ๊กตา ต.บางกระเบา อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม กำลังดำเนินการก่อสร้างวิหารจตุรมุข กลางสระน้ำ เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ใช้งบการก่อสร้างประมาณ 10 ล้านบาท ยังขาดจตุปัจจัยอีกจำนวนมากจึงขอเชิญพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลายร่วมเป็นเจ้าภาพโดยทั่วกัน ติดต่อบริจาคได้ที่ พระครูวิบูลสิริธรรม เจ้าอาวาสวัดตุ๊กตา หรือธนาณัติสังจ่าย ป.ณ.นครชัยศรี ในนามเจ้าอาวาสวัดตุ๊กตาก็ได้ โทร. 0-3433-1170

    แห่งที่ ๖
    พระวิริยมงคลมหาเจดีย์ศรีรัตนโกสินทร์
    ประวัติการก่อสร้างพระมหาเจดีย์เริ่มด้วยการตั้งสัจจยาธิษฐานของพระเทพเจติยาจารย์ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร)
    เจ้าอาวาสต่อหน้าพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดโคตะมะวิหาร จังหวัดจิตตกอง ประเทศบังกาลาเทศ เป็นครั้งแรกว่า หาก
    ได้รับพระบรมสารีริกธาตุ ครบ 5 องค์ จะสร้างพระมหาเจดีย์เพื่อประดิษฐานพระองค์ท่านให้ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
    ซึ่งเจตนาเดิมทางบังกาลาเทศจะมอบให้เพียง 1 องค์เท่านั้น และแล้วทางบังกาลาเทศตกลงยินยอมมอบให้ 5 องค์

    ตามประสงค์ หลวงพ่อจึงปฏิบัติตามที่ได้ตั้งสัจจยาธิษฐานไว้ ดำเนินการก่อสร้างพระมหาเจดีย์ บนเนื้อที่ 5 ไร่ เริ่มก่อ
    สร้างเมื่อปี 2519 แล้วเสร็จในปี 2528 ใช้เวลา 9 ปี สิ้นการก่อสร้างทั้งสิ้น 75 ล้านบาท


    ลักษณะพระมหาเจดีย์
    พระมหาเจดีย์มีลักษณะทรงสี่เหลี่ยมตามแบบพุทธคยา ส่วนยอดเป็นทรงไทยแบบระฆังคว่ำมีความสูงทั้งสิ้น 94.78 เมตร จัดเป็นชั้น ๆ มี 14 ชั้น มีลิฟท์ไปถึงชั้นที่ 10 ตั้งชื่อเรียกเรียงตามลำดับจากชั้นที่ 1 ถึง ชั้นที่ 14 ดังนี้
    ชั้นที่ 1 เป็นนครธรรม
    ชั้นที่ 2 เป็นชั้นระเบียง ที่ตั้งศาลาพุทธบูชาพระพุทธรูปปางต่างๆ
    ชั้นที่ 3 เป็นห้องสมุด
    ชั้นที่ 4 เป็นห้องเรียนสำหรับพระปริยัติธรรม
    ชั้นที่ 5 เป็นห้องเรียนสำหรับพระปริยัติธรรม
    ชั้นที่ 6 เป็นห้องธุรการของโรงเรียนพระปริยัติธรรม
    ชั้นที่ 7 เป็นสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์ให้การศึกษาวัดธรรมมงคล
    ชั้นที่ 8 เป็นสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์ให้การศึกษาวัดธรรมมงคล
    ชันที่ 9 เป็นพิพิธภัณฑ์ของโบราณ
    ชั้นที่ 10 เป็นพิพิธภัณฑ์ของโบราณ
    ชั้นที่ 11 เป็นพิพิธภัณฑ์ของโบราณ
    ชั้นที่ 12 เป็นชั้นแสดงปฏิจจสมุปปบาท , อริยสัจ 4 และนั่งสมาธิ
    ชั้นที่ 13 เป็นชั้นลอย
    ชั้นที่ 14 เป็นชั้นสูงสุด ใช้ประดิษฐาน พระเกศาธาตุ พระอุรังคธาตุ และ
    พระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    การรับพระบรมสารีริกธาตุ พระเกศาธาตุ และพระอุรังคธาตุ

    รับพระบรมสารีริกธาตุครั้งแรก เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2517 จากท่านสันตะปะทะมหาเถระ เจ้าอาวาสวัดโค ตะมะวิหาร เมืองจิตตกอง บังกาลาเทศ จำนวน 5 องค์ รับพระบรมสารีริกธาตุครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 จากพระวิสุทธ์นันทะมหาเถระ หัวหน้าพระสงฆ์ เถระนิกาย เจ้าอาวาสวัดธรรรมราชิกา นครดักก้า ประเทศ บังกาลาเทศ จำนวน 1 องค์ มีพุทธลักษณะกลม สีทอง แตกต่างจากองค์อื่นๆรับพระบรมสารีริกธาตุครั้งที่สาม ต่อมา ประเทศศรีลังกา โดยสมเด็จพระสังฆราชศรีลังกามหาเถระได้มอบพระเกศาธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอุรังธาตุ (คือพระบรมสารีริกธาตุส่วนอก) เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2522 และ 6 มกราคม พ.ศ. 2527 ตามลำดับพิธีและงานฉลองพระมหาเจดีย์เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ และสมเด็จพระเทพรัตน์สุดา สยามบรมราชกุมารีฯ ได้เสด็จมาวางศิลาฤกษ์ และในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 สมเด็จพระบรมโอรษาธิราชสยามมกุฏราชกุมารฯ เสด็จพระราชดำเนินมา ยกฉัตรและบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอุรังคธาตุ และพระเกศาธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วัดธรรมมงคลได้กำหนดการฉลอง 7 ปี 7 เดือน 7 วัน เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2529 ถึง วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2536 สาธุชนทุกท่านร่วมการฉลองได้โดยทั่วกัน เพียงบริจาคปัจจัยจำนวน 500 บาท และเลือกเอาวันไดวันหนึ่งภายในระยะเวลาดังกล่าวนั้น ก็ได้เป็นเจ้าภาพในการฉลองครั้งนี้ด้วย


    คำบูชาพระวิริยมงคลมหาเจดีย์ศรีรัตนโกสินทร์


    พุทธบูชา มหาเตชะวันโต
    ธัมมะบูชา มหัปปัญโญ
    สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห
    อิจเจตัง รัตนนัตตะยัง
    อะหังวันทามิ สัมพะทา
    อะหังวันทามิ สัมพะโส
    อะหังวันทามิ เกสาธาตุโย
    อุรังคุธาตุโย ปะระมะสารีริกธาตุโย
    รัตะนะโกสินะคะรังฐานัง วิริยะมังคะละมหาเจติยัง นมามิหัง
    ( พระเทพเจติยาจารย์ เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล )
    วัดธรรมมงคล

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

    <!-- start content --><TABLE style="FLOAT: right"><TBODY><TR><TD>[FONT=lucida grande, sans-serif]<TABLE style="BORDER-RIGHT: #ccd2d9 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.5em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0.5em; BACKGROUND: #f9f9f9; PADDING-BOTTOM: 0.5em; BORDER-LEFT: #ccd2d9 1px solid; WIDTH: 270px; PADDING-TOP: 0.5em; BORDER-BOTTOM: #ccd2d9 1px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 135%; BACKGROUND: #ffc800; PADDING-BOTTOM: 0.5em; LINE-HEIGHT: 1.1em">วัดธรรมมงคลเถาบุญญนนทวิหาร</TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; VERTICAL-ALIGN: middle; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%">พระพุทธมงคลธรรมศรีไทย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800">ข้อมูลทั่วไป</TD></TR><TR><TD><TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ชื่อสามัญ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">วัดธรรมมงคล</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ประเภท</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">วัดราษฎร์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">นิกาย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เถรวาท ธรรมยุติ</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระประธาน</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระพุทธมงคลธรรมศรีไทย</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เจ้าอาวาส</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระเทพเจติยาจารย์</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" noWrap width=108>ที่ตั้ง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em">ซอย ปุณณวิถี 20 สุขุมวิท 101 เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>[/FONT]





    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    วัดธรรมมงคล (อังกฤษ: Dhammamongkol Temple)ชื่อเต็มคือ วัดธรรมมงคลเถาบุญญนนทวิหาร สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2506 เดิมเป็นป่าสะแก ซึ่งพระเทพเจติยาจารย์ (หลวงพ่อวิริยังค์ ) ใชัเป็นที่พักธุดงค์ในระหว่างเดินทาง เข้ากรุงเทพฯ นายเถา-นางบุญมา อยู่ประเทศ มีศรัทธาจึงมอบที่ให้ และได้สร้างเป็นวัดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2506 ปัจจุบันมีเนื้อที่ทั้งสิ้น 32 ไร่ พระ เณร จำพรรษาประมาณ 300 กว่าองค์


    <TABLE class=toc id=toc summary=เนื้อหา><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[ if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>
    [แก้] สิ่งสำคัญภายในวัด


    [แก้] พระวิริยะมงคลมหาเจดีย์

    เป็นเจดีย์ที่สูงสุดในประเทศไทย ชั้นบนสุดบรรจุพระเกศา พระอุรังคธาตุ พระบรมสารีริกธาตุ ที่ได้รับจากประเทศบังคลาเทศ ฐานเจดีย์ เป็นทรง 4 เหลี่ยม สูง 94.78 เมตร มี 14 ชั้น ประกอบด้วยห้องแสดงพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยราชภัฏฯ ส่วนฐานเจดีย์เป็นโรงเรียน ครูสอนสมาธิ (สถาบันพลังจิตตานุภาพ) ประกอบด้วย ห้องเรียนขนาดใหญ่ รองรับนักศึกษาครั้งละ ประมาณ 500 คน มีห้องเดินจงกรม ห้องนั่งสมาธิ ถ้ำวิปัสสนา ห้องอาหาร และห้องประชุม

    [แก้] พระหยกเขียว

    ประดิษฐานอยู่ในศาลาหลังคาแบบโดมแก้ว พระพุทธรูปหยกเขียว ที่ใหญ่ที่สุดในโลกนี้มีนามว่า "พระพุทธมงคลธรรมศรีไทย" หยกชิ้นใหญ่นี้ได้ถูกค้นพบที่ใต้ทะเลสาบน้ำแข็ง ประเทศแคนนาดา

    [แก้] ถ้ำวิปัสสนา

    ตั้งอยู่ในบริเวณสวนของวัด มีเนื้อที่ 4 ไร่ จำลองบรรยากาศการปฏิบัติในป่า-ถ้ำ เพื่อเข้าไปนั่งสมาธิ และฟังธรรมในถ้ำได้โดยปราศจากกังวลจากสัตว์ป่า ปากถ้ำ มีประตูมุ้งลวด จุคนได้กว่า 200 คน ล้อมรอบด้วยสวนป่า มีไม้ดอกไม้ใบ สระน้ำและเนินเขาซึ่งให้บรรยากาศร่มรื่น

    [แก้] ศูนย์สมาธิวิริยานุภาพ

    ตั้งอยู่บริเวณด้านข้างของวัด ในหมู่บ้านรังสิยา เป็นสถานที่ที่สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้ฆราวาสผู้มาปฏิบัติธรรม มีที่พัก ภายในมีห้องพักแบบโรงแรม 80 ห้อง จุผู้มาปฏิบัติได้ ประมาณ 180คน แบ่งห้องพักเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อไม่ให้แออัดและไม่รบกวนกัน มีทั้ง ห้องเดียว ห้องคู่ และห้องรวมสำหรับครอบครัว ทุกห้องมีเตียง มีที่นอนสปริง หมอน ผ้าปูที่นอน ตู้เสื้อผ้า และติดเครื่องปรับอากาศ ใช้รองรับผู้มาปฏิบัติสมาธิพักค้างคืนได้ตั้งแต่ 3 วัน ถึง 7 วัน มีห้องนั่งสมาธิ บริเวณจงกรม มุมหนังสือธรรมมะ และห้องอาหาร ให้บริการผู้มาเข้าอบรม

    [แก้] สถาบันพลังจิตตานุภาพ

    สถาบันพลังจิตตานุภาพ วัดธรรมมงคล เป็นสถาบันที่มีหน้าที่สอนหลักสูตรครูสมาธิให้แก่ บุคคลทั่วไป ทำการสอนเกี่ยวกับสมาธิเบื้องต้นตั้งแต่การเริ่มบริกรรม จนถึงสมาธิชั้นสูง ที่หลวงพ่อวิริยังค์ได้เรียน มาจากพระอาจารย์ใหญ่ เช่น พระอาจารย ์มั่น พระอาจารย์กงมา และจากประสบการณ์ชีวิตการ ปฏิบัติสมาธิ ของท่านกว่า 60 ปี นอกจากผู้เรียนจะเข้าใจ การทำสมาธิ ทั้งสมถะ-วิปัสสนา อย่างถี่ถ้วนแล้ว ยังสามารถเป็นครูสอนสมาธิแก่บุคคล อื่นได้ โดยถูกต้องด้วย

    [แก้] สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์

    สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์เปิดสอนหลักสูตรด้านการออกแบบ

    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


    [​IMG]



    วิกิแมเปีย มีภาพถ่ายทางอากาศของ:​


    <!-- NewPP limit reportPreprocessor node count: 192/1000000Post-expand include size: 5722/2048000 bytesTemplate argument size: 993/2048000 bytes#ifexist count: 0/500--><!-- Saved in parser cache with key thwiki:pcache:idhash:36552-0!1!0!!th!2 and timestamp 20080316072315 -->ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5"

    พระเจดีย์หลวงใหญ่ (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    วิหารจตุรมุข กลางสระน้ำ (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    พระวิริยมงคลมหาเจดีย์ศรีรัตนโกสินทร์ (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    แห่งที่ ๗ วัดป่าดาราภิรมย์

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE style="FLOAT: right"><TBODY><TR><TD>[FONT=lucida grande, sans-serif]<TABLE style="BORDER-RIGHT: #ccd2d9 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.5em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0.5em; BACKGROUND: #f9f9f9; PADDING-BOTTOM: 0.5em; BORDER-LEFT: #ccd2d9 1px solid; WIDTH: 270px; PADDING-TOP: 0.5em; BORDER-BOTTOM: #ccd2d9 1px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 135%; BACKGROUND: #ffc800; PADDING-BOTTOM: 0.5em; LINE-HEIGHT: 1.1em">วัดป่าดาราภิรมย์(พระอารามหลวง)</TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; VERTICAL-ALIGN: middle; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%">ประูตูวัดป่าดาราภิรมย์ วิหารหลวง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800">ข้อมูลทั่วไป</TD></TR><TR><TD><TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ชื่อสามัญ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">วัดป่าดาราภิรมย์(พระอารามหลวง)</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ประเภท</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">นิกาย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เถรวาท ธรรมยุติกนิกาย</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" noWrap width=108>ที่ตั้ง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em">ตำบลริมใต้ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">สถานที่ใกล้เคียง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระตำหนักดาราภิรมย์ ค่ายดารารัศมี ที่ว่าการอำเภอแม่ริม น้ำตกแม่สา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>[/FONT]






    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    วัดป่าดาราภิมย์(พระอารามหลวง) ตั้งอยู่ที่ ต.ริมใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ได้รับพระบรมราชานุญาตยกฐานะให้เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ นับได้ว่าเป็นพระอารามหลวงแห่งที่ ๗ ในจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ด้านหลังที่ว่าการอำเภอแม่ริม และค่ายดารารัศมี

    [แก้] ประวัติ



    เริ่มจากหลวงปู่มั่น ภูริทัตโตได้ออกจาริกธุดงค์มาทางภาคเหนือและได้พำนัก ณ ป่าช้าร้างติดกับสวนเจ้าสบาย พระตำหนักดาราภิรมย์ของ พระราชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งเป็นสถานที่สงบ เป็นสปายะในการบำเพ็ญกรรมฐาน และมีพระสงฆ์ได้เข้ามาบำเพ็ญกรรมฐาน ณ ที่แห่งนี้ เมื่อชาวบ้านในละแวกเห็นแล้วได้เกิดศรัทธาจึงได้ร่วมกันสร้างเสนาสนะต่างๆ ถวายเพื่อให้คณะสงฆ์ได้้ใช้ในกิจการสงฆ์ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ เจ้าหญิงลดาคำ ณ เชียงใหม่ ทายาทของพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ได้ถวายที่ดินดังกล่าวซึ่งอยู่ในเขตพระราชฐานพระตำหนักเจ้าดารารัศมีให้แก่วัด
    • ได้ประกาศตั้งเป็นวัดวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑
    • ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๒
    • ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๓
    [แก้] สถาปัตยกรรม
    • พระอุโบสถ ประดิษฐานพระประธานเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปสุโขทัย พระนามว่า “พระสยัมภูโลกนาถ”
    • พระธาตุเจดีย์พระพุทธบาทสี่รอย ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทสี่รอยจำลอง ศิลปสุโขทัยประยุกต์ พระนามว่า “พระพุทธการุญกิตติคุณขจร”
    • มณฑปพระเจ้าทันใจ มณฑปเป็นศิลปล้านนาแบบเชียงตุง ประดิษฐานพระพุทธรูปศิลปเชียงแสนสิงห์
    • หอกิตติคุณ จัดสร้างในการฉลองชนมายุ ๘๐ ปี พระธรรมดิลก(จันทร์ กุสโล) ปัจจุบันดำรงสมณศักดิ์ พระพุทธพจนวราภรณ์ ภายในได้รวบรวมเกียรติประวัติ ของพระเดชพระคุณเจ้า
    • พระวิหารหลวง
    • หอพระแก้ว อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
    http://th.wikipedia.org/wiki/วัดป่าดาราภิรมย์

    [​IMG]
    หอพระแก้ว ที่กำลังก่อสร้างอยู่ในขณะนี้

    แห่งที่ ๘ พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์

    [SIZE=+2][​IMG][/SIZE]
    [SIZE=+2]พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ [/SIZE][SIZE=+2](พระเจดีย์แก้ว)[/SIZE]

    [​IMG] [​IMG]
    พระราชปริยัติเมธี ยืนคู่พระเจดีย์แก้ว เมื่อการยกยอดพระเจดียแก้วเสร็จสิ้นแล้ว
    [​IMG]
    การยกยอดพระเจดีย์
    [​IMG] [​IMG]
    ทางเดินรอบฐานเจดีย์ชั้นที่ 1 ชั้นแห่งทาน

    [​IMG]
    ทางเดินชั้นที่ 2 เรียกว่าสะพานสายรุ้ง
    ส่วนชั้นที่ 3 เป็นชั้นแห่งภาวนา ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระเจดีย์แก้ว บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (อยู่ระหว่างการก่อสร้างตกแต่ง)


    พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ ภายในประกอบไปด้วย… ชั้นที่ 1 เป็นชั้นแห่ง ทาน และฐานพระบรมธาตุฯ บันทึกรายชื่อผู้บริจาค เมื่อสู่ชั้นที่ 2 ตามสะพานสายรุ้ง… เป็นชั้นแห่งศีล ท่านจะพบกับหยดน้ำคริสตัล ซึ่งอยู่ตรงดุมล้อของธรรมจักร ส่วนภายนอก… จะเป็นลานโล่ง มีโพธิมณฑลห้อมรอบเจดีย์ ( รูปจำลอง ) ประจำปีเกิด และเมื่อท่านเดินตามสะพานสายรุ้ง ขึ้นสู่ชั้นที่ 3 เป็นชั้นแห่งภาวนา ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระเจดีย์แก้ว บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ " สะพานสายรุ้ง… เป็นเส้นทางทอดผ่านจากแดนมนุษย์ (โลกิยภูมิ) ขึ้นสู่แดนสวรรค์ (โลกุตรภูมิ) ผู้ใดได้ร่วมสร้างพระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ ก็เหมือนได้สร้างสะพานสายรุ้ง ให้แก่เพื่อนมนุษย์ เพื่อขึ้นสู่แดนสุขาวดี ผู้นั้นก็จะมีพร้อมซึ่ง อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ ในชาติหน้าก็จะไปเกิดในแดนสวรรค์ เพราะบุญบารมีที่ท่านได้ร่วมสร้าง พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ "


    [​IMG][SIZE=+2]พระราชปริยัติเมธี[/SIZE] เจ้าอาวาสวัดท่าตอน

    [SIZE=+3]ขอเชิญชวนศาสนิกชนร่วมสร้าง[/SIZE]
    [SIZE=+3]พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์[/SIZE]
    [SIZE=+1]โดยผ่านบัญชีธนาคาร ดังนี้[/SIZE]

    ธนาคารกรุงเทพฯ สาขาแม่อาย บัญชีเลขที่ : 510-0-09111-4
    ธนาคารกสิกรไทย สาขาฝาง บัญชีเลขที่ : 238-2-04694-6
    ชื่อเจ้าของบัญชี : พระราชปริยัติเมธี

    หรือ
    ร่วมบริจาคจัดสร้างได้โดยตรงที่วัดท่าตอน โทร. (053) 459309

    ความเป็นมา
    ปี พ.ศ. 2536 พระราชปริยัติเมธี (หลวงพ่อสมาน) ดำริจะสร้างเจดีย์แก้ว
    ปี พ.ศ. 2537 แบบก่อสร้างเสร็จ และพร้อมที่จะดำเนินการ
    ปี พ.ศ. 2538 พิธีวางศิลาฤกษ์ ( 13 มีนาคม 2538 )[​IMG]
    ปี พ.ศ. 2540 ออกแบบก่อสร้างใหม่ เจาะสำรวจชั้นดิน เพราะแบบของเจดีย์องค์เดิมใช้งบประมาณสูงมาก
    ปี พ.ศ. 2541 เริ่มเทฐานพระเจดีย์ขนาดใหญ่ กว้างยาว 16 x 16 เมตร หนา 1.20 เมตร และการก่อสร้างก็ได้หยุดชะงักไปตามคำสั่งของพระมหาเถรสมาคม
    ปี พ.ศ. 2543 เริ่มดำเนินการก่อสร้างต่อตั้งแต่ 21 กรกฎาคม เป็นต้นมา….ด้วยปณิธานอันแน่วแน่ของพระราชปริยัติเมธี เจ้าอาวาสวัดท่าตอน

    พิธีวางศิลาฤกษ์ ในการจัดสร้างพระเจดีย์แก้ว

    ความสำคัญของพระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์

    1. เป็นที่บรรจุพระบรมธาตุ , พระบรมสารีริกธาตุ , เป็นสถานที่ตั้งพระพุทธรูปโบราณ , บรรจุแผ่นรายชื่อของผู้บริจาคให้ทาน
    2. ใช้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ สำหรับประกอบพิธีสำคัญทางพระพุทธศาสนา
    3. ใช้เป็นสถานที่สำหรับนั่งสมาธิ
    4. เป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า
    5. เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อสำหรับทัศนศึกษา ท่องเที่ยว หาความรู้สำหรับผู้สนใจที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของทางภาคเหนือ

    พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ ภายในประกอบไปด้วย… ชั้นที่ 1 เป็นชั้นแห่ง ทาน และฐานพระบรมธาตุฯ บันทึกรายชื่อผู้บริจาค เมื่อสู่ชั้นที่ 2 ตามสะพานสายรุ้ง… เป็นชั้นแห่งศีล ท่านจะพบกับหยดน้ำคริสตัล ซึ่งอยู่ตรงดุมล้อของธรรมจักร ส่วนภายนอก… จะเป็นลานโล่ง มีโพธิมณฑลห้อมรอบเจดีย์ ( รูปจำลอง ) ประจำปีเกิด และเมื่อท่านเดินตามสะพานสายรุ้ง ขึ้นสู่ชั้นที่ 3 เป็นชั้นแห่งภาวนา ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระเจดีย์แก้ว บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ " สะพานสายรุ้ง… เป็นเส้นทางทอดผ่านจากแดนมนุษย์ (โลกิยภูมิ) ขึ้นสู่แดนสวรรค์ (โลกุตรภูมิ) ผู้ใดได้ร่วมสร้างพระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ ก็เหมือนได้สร้างสะพานสายรุ้ง ให้แก่เพื่อนมนุษย์ เพื่อขึ้นสู่แดนสุขาวดี ผู้นั้นก็จะมีพร้อมซึ่ง อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ ในชาติหน้าก็จะไปเกิดในแดนสวรรค์ เพราะบุญบารมีที่ท่านได้ร่วมสร้าง พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ "
    http://www.geocities.com/wat_thaton/jedeekeaw.html
    http://www.geocities.com/wat_thaton/jedeekeaw11.html

    แห่งที่ ๙ พระมหาธาตุเจดีย์ศรีเวียงชัย




    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=696 align=center border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=style2 vAlign=center width=594>
    ภายในวัดมีพื้นที่กว้างขวางมาก มีสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่อลังการมากมาย เช่น วิหารพระพุทธบาท พระธาตุ วัดนี้เป็นที่เคารพศรัทธาของชาวกะเหรี่ยงบ้านห้วยต้ม ซึ่งเป็นชุมชนขนาดใหญ่มีถึง 1,200 ครอบครัว นอกจากจะได้มานมัสการพระพุทธบาทแล้ว ยังได้ชมวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง ซึ่งยังคงเอกลักษณ์ทั้งรูปแบบบ้านเรือน การแต่งกาย และมีร้านจำหน่ายเสื้อผ้าแบบกะเหรี่ยง ย่าม เงินดุนลายเล็ก ๆ ด้วย






    </TD><TD width=178 rowSpan=2>[​IMG]





    </TD></TR><TR><TD class=style2 vAlign=center>[​IMG]สถานที่ตั้ง และการเดินทาง
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=517 border=0><TBODY><TR><TD width=107>ที่ตั้ง :




    </TD><TD width=10></TD><TD class=txt1 width=400>
    บ้านห้วยต้ม ต.นาทราย อ.ลี้ ​









    </TD></TR><TR><TD>รถยนต์ส่วนตัว :




    </TD><TD></TD><TD class=txt1>จาก อ.ลี้ ใช้ทางหลวงหมายเลข 106 ไปทาง อ.เถิน จ.ลำปาง ผ่านวัดพระธาตุห้าดวงไป 1.25 กม. เห็น สนง.ขนส่งลำพูน สาขาลี้ ทางซ้ายมือ เยื้องกันมีแยกขวามือ ให้เลี้ยวเข้าไปเล็กน้อย ผ่านบ้านแพะหนองห้า ตรงไปอีก 3 กม. เจอสี่แยกบ้านกะเหรี่ยง หมู่ 11 ให้เลี้ยวขวาไป 500 ม. เจอสามแยกให้เลี้ยวซ้ายไปตามถนน




    </TD></TR><TR><TD>รถประจำทาง :




    </TD><TD></TD><TD class=txt1>ขึ้นรถสาย ลี้-บ้านห้วยต้ม</TD></TR></TBODY></TABLE>​





    </TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=729 border=0><TBODY><TR><TD class=style1 colSpan=2>[​IMG]สิ่งที่น่าสนใจ






    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    [​IMG]รอยพระพุทธบาท
    เป็นรอยขนาด 1x2 ม. ประดิษฐานอยู่ใน ณฑป ใกล้กับองค์พระบรมธาตุเจดีย์


    </TD></TR><TR><TD class=buttom colSpan=2>





    </TD></TR><TR><TD width=532>
    [​IMG]พระบรมธาตุเจดีย์
    เป็นเจดีย์สีทอง องค์ระฆังเล็ก ฐานกว้าง 20 ม. สูง 34 ม. รายล้อมด้วยเจดีย์ขนาดเล็กอีก 17 องค์ สร้างเมื่อเดือน เม.ย. 2518 โดยครูบาชัยวงศาพัฒนา มีนายโต๊ะโนะ ชาวกะเหรี่ยงเป็นช่างผู้ก่อสร้าง ภายในบรรจะพระเครื่อง 84,000 องค์ เพื่อความเป็นสริมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเจิมแผ่นหินเพื่อบีีจุในเจดีย์ เมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2523 ทุกวันนี้ชาวกะเหรี่ยงนับร้อยจะแต่งชุดประจำเผ่ามาเวียนเทียนเป็นประจำ ล่ำลือกันว่าบางครั้งจะเกิดแสงสว่างพุ่งออกมาจากเจดีย์
    นอกจากนี้ทางวัดกำลังก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ศรีเวียงชัยเป็นสีทองขนาดใหญ่ จำลองมาจากเจดีย์ชเวดากองในพม่า ตั้งอยู่ใกล้บ้านหมู่ 8 ห่างจากวัดประมาณ 600 ม.








    </TD><TD width=197>[​IMG]





    </TD></TR><TR><TD class=buttom colSpan=2>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    - รายชื่อของผู้แจ้งความประสงค์ขอบรรจุยังพระธาตุเจดีย์แห่งที่ ๗-๙ ตามลำดับว่าผู้ใดแจ้งความประสงค์ก่อนหลัง

    หอพระแก้ว (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    พระบรมธาตุรัชมังคลาจารย์สมานฉันท์ (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)
    พระมหาธาตุเจดีย์ศรีเวียงชัย (ครบ ๒๙ องค์แล้ว)


    <!-- / message --><!-- sig -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2009
  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    คำขวัญ : จังหวัดลำพูน

    " พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวี ศรีหริภุญชัย "<?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shape id=_x0000_i1026 style="WIDTH: 15pt; HEIGHT: 12pt" alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\com\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://travel.sanook.com/north/lumpoon/images/ic_buatong.gif"></v:imagedata></v:shape>


    ประวัติ : เมืองลำพูน หรือ หริภุญไชยนั้น เป็นเมืองที่พระวาสุเทวฤาษี จากสำนักดอยสุเทพเมืองเชียงใหม่ และพระสุกกทันตฤาษี จากเมืองละโว้ เป็นผู้สร้างขึ้นครับ โดยทั้งสองเห็นพ้องต้องกันว่าควรสร้างเมืองตามแบบอย่างพระอนุสัษฏฤาษี ที่สร้างเมืองศรีสัชนาลัยโดยวางรูปสันฐานเมืองเป็นรูปเกล็ดหอยซึ่งทำให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง เมื่อพระอนุสัษฏฤาษีทราบเรื่องจึงนำเกล็ดหอยจากมหาสมุทรมาให้พระฤาษีทั้งสอง จากนั้นพระฤาษีทั้งสองก็ใช้ไม้เท้าขีดพื้นดินวงไปตามรูปเกล็ดหอย ก็เกิดเป็นกำแพงมูลดินและคูเมืองป้อมปราการขึ้นมาอย่างน่าอัศจรรย์ เหตุที่มีดินพูนขึ้นมานี้เองจึงได้ชื่อว่า "ลำพูน" และเมื่อพระฤาษี ทั้งสองสร้างเมืองเสร็จแล้วก็ให้อำมาตย์ไปทูลเชิญพระนางจามเทวี ราชธิดาพระเจ้ากรุงละโว้ ขึ้นมาครองเมือง ซึ่งขณะที่พระนางเดินทางมานั้นพระนางกำลังทรงพระครรภ์อยู่ ครั้นถึงเมืองลำพูนได้ไม่นาน ก็ทรงมีพระประสูติกาลพระกุมารฝาแฝด องค์พี่ทรงพระนามว่า "มหันตยศกุมาร" ส่วนองค์น้องทรง พระนามว่า "อนันตยศกุมาร"

    <v:shape id=_x0000_i1027 style="WIDTH: 15pt; HEIGHT: 12pt" alt="" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\com\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://travel.sanook.com/north/lumpoon/images/ic_buatong.gif"></v:imagedata></v:shape>อาณาเขต :

    ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดเชียงใหม่
    ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดลำปาง และตาก
    ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดเชียงใหม่
    ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดลำปาง

    จังหวัดลำพูน เป็นจังหวัดที่เล็กที่สุดในภาคเหนือ มีเนื้อที่ 4,407 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ที่ราบ อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 1,800 ฟุต มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 4 สาย คือ แม่น้ำปิง แม่น้ำกวง แม่น้ำทา และ แม่น้ำลี้

    จังหวัดลำพูนแบ่งการปกครองออกเป็น 6 อำเภอ และ 1 กิ่งอำเภอ คือ อำเภอเมืองลำพูน, อำเภอป่าซาง, อำเภอบ้านโฮ่ง, อำเภอแม่ทา, อำเภอลี้, อำเภอทุ่งหัวช้าง และกิ่งอำเภอบ้านธิครับ<O:p</O:p
    http://travel.sanook.com/north/lumpoon/index.php<O:p></O:p>



    พระนางจามเทวี เชื่อกันว่าเป็นปฐมกษัตริย์แห่งนครหริภุญไชย ทรงเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าจักรพรรดิราช แห่งกรุงละโว้(ลพบุรี) ปีประสูติ ระยะเวลาครองราชย์ และปีสวรรคตของพระนางจามเทวี มีผู้บันทึกหรือวิเคราะห์ไว้ต่างกัน เช่น ชินกาลมาลีปกรณ์ ว่าครองราชย์ พ.ศ. ๑๒๐๕ ครองราชย์อยู่ ๗ ปี นายมานิต วัลลิโภดม สอบค้นว่าประสูติ เมื่อพ.ศ. ๑๑๖๖ ครองราชย์ พ.ศ. ๑๒๐๕ ครองราชย์อยู่ ๑๗ ปี สิ้นพระชนม์ พ.ศ. ๑๒๕๘ พระชันษาได้ ๙๒ ปี ตำนานฉบับที่นายสุทธวารี สุวรรณภาชน์ แปลและเรียบเรียง คือ ประสูติ พ.ศ. ๑๑๗๖ ครองราชย์ พ.ศ. ๑๒๐๒ สละราชสมบัติ พ.ศ. ๑๒๓๑ และสวรรคต พ.ศ. ๑๒๗๔ เป็นต้น

    <O:p</O:p
    พระนางจามเทวีเป็นผู้มีพระรูปโฉมงดงาม เป็นเบญจกัลยานี มีศีล และมีความสามารถ ทรงอยู่ในฐานะหม้าย เนื่องจากพระสวามี ซึ่งอยู่ในพงศาวดารเมืองหริภุญชัย ว่าเป็นเจ้าประเทศราชในเมืองรามัญ ตรงกับตำนานมูลศาสนาว่า คือเมืองรา หรือ เมืองรามได้มีศรัทธาบรรพชาเป็นเพศบรรพชิต พระเจ้าจักรพรรดิราชพระราชบิดา ทรงมีราชานุญาตให้พระนางจามเทวีซึ่งมีครรภ์ได้ ๓ เดือน เดินทางไปครองเมืองหริภุญไชย ตามคำเชิญของสุกกทันตฤาษี และวาสุเทพฤาษี ผู้ส่งนายคะวะยะเป็นทูตมาเชิญ
    <O:p</O:p

    พระนางจามเทวีได้นำพระสงฆ์ สมณะชีพราหมณ์ พ่อค้าวาณิช ช่างต่างๆ อย่างละ ๕๐๐ ประมาณกว่า ๗,๐๐๐ คน เดินทางโดยทางน้ำปิง (พิงค์) อย่างช้าๆ ตั้งเมืองเผยแผ่พระพุทธศาสนาตลอดเส้นทาง ใช้เวลาเดินทาง ๗ เดือน จึงเดินทางมาถึงเมืองหริภุญไชย เมื่อเสด็จมาถึงได้ ๗ วัน ก็ประสูติพระโอรสฝาแฝดชื่อ มหันตยศ และ อนันตยศ ต่อมาทรงได้เศวตไอยราเป็น คู่บารมีสีกายเผือกดั่งเงินยวงเรียกว่า ผู้ก่ำงาเขียว (ช้างเผือกงาเนียมหรือช้างเผือกงาดำ) จากเชิงดอยอ่างสลง (อ่างสรง) ในเขาลวง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อพระโอรสมีพระชนม์ ๗ พรรษา พระนางจามเทวีได้สละราชสมบัติอภิเษกให้มหันตยศ ครองเมืองหริภุญไชย ส่วนอนันตยศ พระนางจามเทวีได้ให้นำผู้คนพลเมืองไปตั้งเมืองเขลางค์นครหรือลำปางในปัจจุบัน นับเป็นการขยายอาณาจักร และพุทธจักร ให้กว้างไกลออกไป ส่วนพระนางได้นุ่งขาวห่มขาว สมาทานเบญจศีล จนถึงวันสิ้นพระชนม์ ดังตำนานมูลศาสนาได้กล่าวว่าพระนางทรงสมาทานเบญจศีลอยู่เสมอทุกวันมิได้ขาด
    <O:p</O:p

    ในอุดมการณ์ทางด้านศาสนา ทรงเป็นแบบอย่างที่ดี ในการปฏิบัติธรรมให้เสนาอำมาตย์ราชมนตรี และประชาชนถือปฏิบัติเป็นอย่างดี ที่สำคัญยิ่งทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองวัฒนาสืบมาจนถึงปัจจุบันนี้ และได้ทรงสร้างจตุรพุทธปราการเป็นพระอารามประจำจตุรทิศแห่งพระนคร เพื่อเป็นพุทธปราการปกป้องคุ้มครองพระนครให้พัฒนาสถาพรปราศจากภัยภิบัติต่างๆ ประชาชนทั่วไปเรียกว่า วัดสี่มุมเมือง ดังนี้


    อาพัทธาราม ปัจจุบันคือ วัดพระคง เป็นพุทธปราการอารักขาประจำทางฝ่ายทิศเหนือ
    อรัญญิกรัมมการาม ปัจจุบันเป็น วัดร้างดอนแก้ว ตั้งอยู่บริเวณโรงเรียนชุมชนบ้านเวียงยองเป็นพุทธปราการ อารักขาประจำทางฝ่ายทิศตะวันออก
    มหาสัตตาราม ปัจจุบันคือ วัดสังฆาราม (ประตูลี้) เป็นพุทธปราการอารักขาประจำทางฝ่ายทิศใต้
    มหาวนาราม ปัจจุบัน คือ วัดมหาวันเป็นพุทธปราการอารักขาประจำทางฝ่ายทิศตะวันตก
    <O:p</O:p


    พระนางจามเทวีได้ทรงใช้กุศโลบายที่หลากหลายรูปแบบในการต่อสู้และชักจูงพวกละว้าให้หันมานับถือศาสนาพุทธโดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อสู้กับหัวหน้าเผ่าละว้า ขุนหลวงวิลังคะ ด้วยอิทธิฤทธิ์ของช้างผู้ก่ำงาเขียว ได้ขับไล่ข้าศึกละว้าหนีกระจัดกระจายไปอยู่ตามป่าเขา นอกจากนี้ทรงใช้กุศโลบายในการผสมกลมกลืนชาติพันธุ์กับท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม โดยการให้พระราชโอรสทั้งสองพระองค์อภิเษกสมรสกับธิดาสองคนของพญามิลักขะและได้สู่ขอธิดาสองคนของนายคะวะยะ ให้กับพระราชโอรสด้วย ถือได้ว่าทำให้ชนชาวละโว้และชนพื้นเมืองอยู่กันอย่างร่มเย็นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและสามารถเผยแพร่อุดมการณ์ทางศาสนาเข้าสู่ชนพื่นเมืองได้อย่างรวดเร็ว และได้ใช้กุศโลบายทางสันติธรรมและเมตตาธรรมเข้าต่อสู้จนชนะที่สุด โดยมีบางส่วนได้เข้ามา สวามิภักดิ์หันมาเลื่อมใสศรัทธาในพระบวรพุทธศาสนาทำให้มีการผสมกลมกลืนทางชาติพันธุ์ สังคมเกิดความสงบสุขและพุทธศาสนาเจริญอย่างมั่นคงในอาณาจักรหริภุญไชยตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    http://lannamusic.advancewebservice.com/index.php?name=Forums&file=posting&mode=quote&p=3


    เมือง นครลพะ มีความเจริญรุ่งเรืองมากในทางพุทธศาสนา ราวพุทธศักราช ๙๔๕ พระเจ้าอโศกมหาราช ส่งพระสมณฑูตมาเผยแผ่ จากอินเดีย จึงเกิดสถาบันสงฆ์ขึ้นได้นำพระพูทธรูป พระเครื่อง ศิลปวัตถุต่างๆ พร้อมช่างฝีมือมาด้วยจึงเป็นแม่แบบในปัจจุบันได้แพร่กระจายสู่แคว้นต่างๆในประเทศไทยเราในปัจจุบัน

    แคว้นลพะหรือเมืองลพะ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเขินและไทยลัวะปะปนบ้างภาษาใช้ภาษาไทยเขินหรือภาษาลานนาในปัจจุบัน ส่สวนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมีพระสงฆ์และนักบวช ส่วนมากจะเป็นฤาษี ตั้งอยู่ที่บริเวณ บ้านวังไฮ ต.เวียงยองอ.เมือง จ.ลำพูน ในปัจจุบัน มีกษัตริย์ปกครองถึง ๑๐ รัชกาล ประมาณ พ.ศ.๙๐๐พระเจ้าสัจจวัตร รัชกาลที่ ๑ ได้สถาปนาเป็นกษัตริย์ปกครองแคว้นลพะโดยมีเมืองลพะเป็นเมืองหลวง (เป็นยุคก่อนหริภุญไชย) พระยาตะกะ รัชกาลที่ ๒ (พ.ศ.๙๔๐-๙๘๗) บ้านเมืองยุคที่เจริญรุ่งเรืองที่สุด มีพระสงฆ์ที่เป็นพระอรหันต์ ๙รูป พระเถระ อนุเถระ อุบาสก อุบาสิกา นักปราชญ์ ราชบัณฑิต ช่างฝีมือ อพยพมาจากเมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย มาที่เมืองลพะ ได้นำเอา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์และทรัพย์สมบัติอื่นๆของพระพุทธศาสนามาด้วย เช่น พระพุทธรูป พระเครื่องพระบรมสารีริกธาตุ พระอังคาร รางเหล็ก(ที่รองรับพระสรีระร่างของพระพุทธเจ้าตอนประชุมเพลิง)มาด้วย เส้นทางเรือผ่านทะเลเข้าสู่แม่นำเจ้าพระยา แยกขึ้นไปทางลำแม่น้ำปิง ได้สร้างพระประจำรัชกาลถือเป็นพระเครื่องชุดแรกของประเทศไทยปัจจุบัน คือสร้างเมื่อ เดือน ๖ ขึ้น ๖ ค่ำพ.ศ.๙๗๖ เป็นเนื้อดินและเนื้อชินมีตัวหนังสือลานนาหรือไทยเขินจารึกไว้ใต้ฐานพระเครื่อง ๒ แถวแถวบนระบุชื่อผู้สร้างคือ ตะกะ พะ ลพะ ส่วนแถวล่างระบุ วัน-เดือน-ปี ที่สร้าง คือ ๖๖๗๙ ๖ อ่านว่า เดือน ๖ ขึ้น ๖ ค่ำ พ.ศ.๙๗๖ สร้างโดยพระอรหันต์ที่มาจากอินเดียจะมีพระบรมสารีรกิธาตุที่เป็นธาตุรวม ธาตุ ๔ หรือ ธาตุ ๖และเหล็กไหลหรือรางเหล็กฯผสมอยู่ด้วย พบที่ กรุดอยไซ บ้านหนองไซ หมู่ที่ ๑๔ค.ป่าสัก อ.เมือง จ.ลำพูน เรียกชื่อว่า"พระเหล็กไหลดอยไซ"มีพระพุทธคุณสูงยิ่งต่อสละราชสมบัติออกบวชมอบอำนาจต่อกับพระโอรส, รัชกาลที่ ๓ พระยาธะมะนะขะชะแต่ปีพ.ศ.๙๘๗ ต่อมาได้สร้างพระเครื่อง พระบูชาประจำรัชกาล เช่น พระรอด พระคงปกครองเมืองถึง พ.ศ. ๑๐๒๗ รวม ๔๐ ปี ,รัชกาลที่ ๔ พระยาถะระ ปกครองเมืองตั้งแต่พ.ศ.๑๐๒๗-๑๐๘๐ รวม ๕๓ ปี ,รัชกาลที่ ๕ พระนางอะระพะ เป็นพระมเหสีของพระยาถะระเมื่อรัชกาลที่ ๔ สิ้นพระชนม์ไม่มีรัชทายาทสืบราชสมบัติแทนพระนางจึงสถาปนาฯปกครองเมือง ตั้งแต่พ.ศ.๑๐๘๐-๑๐๘๗ รวม ๗ ปี มีพระอรหันต์เกิดขึ้น ๖องค์ มีอุบาสกคนหนึ่งชื่อ"สัญชัย"ปฏิบัติธรรมได้สมาธิฌานอภิญญาขั้นสูงช่วงนั้นพระอรหันต์ได้ปรินิพพานไปหมดมีแต่อุบาสก"สัญชัย"เป็นที่เคารพของประชาชนทั่วไปจึงถูกเรียกชื่อใหม่ว่า"ฤาษีสัญชัย"(เป็นฤาษีพุทธองค์แรกเป็นต้นตระกูลของฤาษีพุทธในประเทศไทย) เสียชีวิต เมื่อ พ.ศ.๑๐๘๐พระนางอะระพะได้เอาพระธาตุของฤาษีสัญชัย มาเป็นส่วนผสมในการสร้างพระเครื่องพระบูชาประจำรัชกาล ผู้สร้างคือ สุกกทันตฤาษี เป็นลูกศิษย์ฤาษีสัญชัยขณะนั้นอายุได้ ๒๐ ปี แต่สำเร็จสมาธิฌาน อภิญญาขั้นสูงและได้สืบต่อเป็นเจ้าสำนักดอยไซ,รัชกาลที่ ๖ พระยาทะพะยะปกครองเมืองตั้งแต่พ.ศ.๑๐๘๗-๑๐๙๕ รวม ๘ ปี เป็นหลานรัชกาลที่ ๔ ,รัชกาลที่ ๗พระยาพะระมะนะ เป็นบุตรรัชกาลที่ ๖ ปกครองเมืองตั้งแต่ พ.ศ.๑๐๙๕-๑๑๒๐ รวม ๒๕ ปี ,รัชกาลที่ ๘ พระยาสะตะยะ เป็นบุตรรัชกาลที่ ๗ ปกครองเมืองตั้งแต่ พ.ศ.๑๑๒๐-๑๑๔๖รวม ๒๖ ปี สุกกทันตฤาษีได้เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ.๑๑๔๐ ได้ลูกศิษย์ชื่อ สุเทวฤาษี อายุ๒๐ ปี ได้สมาธิฌานอภิญญาขั้นสูง สืบต่อเป็นเจ้าสำนัก,รัชกาลที่ ๙ พระยาพะระปกครองเวมืองตั้งแต่ พ.ศ. ๑๑๔๖-๑๑๗๑ รวม ๒๕ ปี ,รัชกาลที่ ๑๐ พระยาสะณะตะระหรือพระสันตระ ปกครองเมืองลพะองค์สุดท้ายตั้งแต่ พ.ศ. ๑๑๗๑-๑๑๗๖ รวม ๕ ปีได้สร้างพระเครื่องพระบูชาประจำรัชกาล ผู้สร้างคือ ฤาษียะ ฤาษีวะ ๒ องค์ซึ่งเป็นลูกศิษย์ฤาษีสุเทวฤาษี เมืองลพะล่มสลายเมื่อ เดือน ๘ ขึ้น ๑๕ ค่ำ พ.ศ.๑๑๗๖ ระหว่างทำพิธีสร้างพระประจำรัชกาลเสนาอำมาตย์แตกความสามัคคีก่อการจลาจลทำลายเข่นฆ่ากันในพิธีจนตายหมด ส่วนที่เหลือก็อพยพไปที่อื่นถึง ๔ สาย ทางบก ๒ สายมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือ คือที่เชียงแสน ส่วนทางทิศใต้คือ สุโขทัย ทางน้ำ ๒ สาย ล่องลำน้ำปิงจนถึงเมืองละโว้-อยุธยา และ ทราวดี-อู่ทอง สุพรรณบุรีในปี พ.ศ.๑๑๗๖ พระยาสันตระ ได้บุตรสาวคนหนึ่งเกิดก่อนวันสร้างพระประจำรัชกาล เพียง ๓ เดือน ระหว่างเกิดการจลาจลได้อยู่กับพระพี่เลี้ยงในวังไม่ได้มาเข้าร่วมพิธีด้วยฤาษียะและฤาษีวะซึ่งอยู่ในพิธีสร้างพระด้วยเห็นเหตุการณ์ไม่ดีจึงรีบเข้าวังช่วยเจ้าหญิงองค์น้อยหนีไปที่สำนักของสุเทวฤาษี ดอยไซ...และศิษย์อีกองค์คือฤาษีคะช่วยกันเลี้ยงดูโดยอ้างกับประชาชนทั่วไปว่า...เก็บได้จากดอกบัวหลวงในสระน้ำใกล้สำนัก...อยู่ด้วยที่สำนักดอยไซ...มีเสียงครหานินทาว่าเลี้ยงเด็กผู้หญิงไว้....จึงพามาอยู่ดอยอีกลูกหนึ่งทางทิศเหนือเพื่อให้ห่างจากฤาษีองค์อื่นๆที่ดอยไซ....ดอยลูกนี้เรียกว่า"ดอยติ"ในปัจจุบัน (อ.เมือง จ.ลำพูน) จนมีอายุ ๑๓ ปี จึง ให้ฤาษียะ ฤาษีวะ และฤาษีคะพาไปฝากเรียนศิลปะวิทยาการกับกษัตริย์ที่กรุงละโว้ เจ้าหญิงองค์น้อยนั้นก็คือ"พระนางจามเทวี องค์ปฐมกษัตริย์แห่งนครหริภุญไชย"นั่นเอง


    เรื่องราวเมืองลพะเริ่มประมาณ พ.ศ.๙๐๐ และสิ้นสุดเมื่อวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ พ.ศ.๑๑๗๖ รวมประมาณ ๒๗๖ ปี ก่อนสุเทวฤาษี และศิษย์ทั้ง ๓ ช่วยกันรวบรวมกอบกู้สร้างเมืองใหม่ตั้งชื่อว่า"เมืองหริภุญไชย"เรียบร้อยแล้วจึงให้ลูกศิษย์ฤาษี ๓ องค์ไปเป็นฑูตทูลขอพระนางจามเทวี ขณะนั้นเป็นพระราชธิดาบุญธรรมของกษัตริย์กรุงละโว้และเป็นมเหสีของพระยารามราชกษัตริย์ แห่งเมืองอโยธยามาขึ้นครองราชเป็นปฐมกษัตริย์ แห่งเมืองหริภุญไชยเมื่อสุเทวฤาษีสิ้นบุญพระนางจามเทวีได้สร้างเจดีย์หรือกู่บรรจุอัฐิไว้ที่ดอยไซและสร้างกู่บรรจุอัฐิไว้ที่กลางเมืองหริภุญไชย ฤาษีคะได้ปกครองสำนักดอยไซสืบแทนจนหมดอายุขัยพระนางจามเทวีได้สร้างเจดีย์หรือกู่บรรจุอัฐิไว้ที่วัดพระคงฤาษี ส่วนฤาษียะและฤาษีวะ เมื่อสิ้นบุญอาจารย์ก็ได้มาอาศัยอยู่ที่บ้านดงป่าหวายใกล้กับเวียงหวาย ในเขตอ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน มีลูกศิษย์มาปฏิบัติธรรมจำนวนมากจนชาวบ้านเรียกบริเวณนี้ว่า "ดงฤาษี" เมื่อฤาษีทั้ง ๒ สิ้นบุญ พระนางจามเทวีและพระยามหันตยศ ก็ได้มาสร้างอนุสาวรีย์ของฤาษีทั้ง ๒เป็นรูปพระสงฆ์ยืน ปรางค์ถวายเนตร สูง ๙ ศอกตามความปราถนาที่ครองสมณเพศเป็นพระสงฆ์มาตั้งแต่ยังหนุ่มปรากฏเป็นหลักฐานมาจนถึงทุกวันนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2008
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137


    เรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างเมืองหริภุญไชย จากตำนานดังกล่าวนั้นหากวิเคราะห์ในเชิงการศึกษาจะเห็นว่าเมืองหริภุญไชยมีความสัมพันธ์กับหัวเมืองทางภาคกลาง คือเมืองละโว้การยอมรับและอัญเชิญพระนางจามเทวีให้ขึ้นไปครองราชสมบัติอาจจะเป็นเพราะว่าหัวทางภาคเหนือขาดบุคคลที่เหมาะสมจะเป็นกษัตริย์และอีกประการหนึ่งแสดงให้เห็นว่าเมืองละโว้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีอิทธิพลทางการเมืองจนเป็นที่ยอมรับของชาวเมืองหริภุญไชยพระนางจามเทวีไม่ได้เสด็จขึ้นมาเพียงพระองค์เดียวหากแต่ได้นำคณะสงฆ์และนักปราชญ์ราชบัณฑิตขึ้นมาด้วยจำนวนหนึ่งซึ่งนักวิชาการได้วิเคราะห์ว่าน่าจะมีผลในด้านการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมขึ้นในเมืองหริภุญชัยอันมีผลให้บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็วในสมัยของพระนางจามเทวีจัดได้ว่าเป็นระยะเวลาแห่งการสร้างบ้านแปงเมืองมีการขยายบ้านเมืองออกไปอย่างกว้างขวาง ดังเช่นที่กล่าวในตำนานว่าเจ้าอนันตยศได้ไปสร้างเมืองเขลางค์ขึ้นเป็นเมืองคู่กับเมืองหริภุญชัยแสดงให้เห็นว่าหริภุญไชยไม่ใช่เป็นชื่อเมืองอย่างเดียว หากยังหมายถึงชื่อของแคว้น ๆหนึ่ง โดยมีเมืองหริภุญไชยเป็นศูนย์
    ในสมัยต่อมาหลักฐานในชินกาลมาลีปกรณ์ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างเมืองหริภุญไชยกับเมืองสุธรรมนครและเมืองหงสาวดีกล่าวคือเมื่อพระเจ้ากัมพลครองราชสมบัติได้เกิดเหตุอหิวาตกโรคขึ้นที่เมืองหริภุญไชยชาวเมืองได้อพยพหนีไปอยู่ที่เมืองสุธรรมนครและเมืองหงสาวดีเป็นเวลาหลายปีนอกจากนี้เมืองหริภุญไชยยังมีความสัมพันธ์กับเมืองมอญ ซึ่งปรากฏหลักฐานคือศิลาจารึกที่ใช้ภาษามอญจำนวน 7 หลักที่ลำพูนตัวอักษรมอญที่ใช้ในจารึกใกล้เคียงกับอักษรมอญที่เมืองพุกามในประเทศพม่ามีอายุระหว่าง พ.ศ.1628 - 1656 </B>

    ประวัติศาสตร์ของเมืองหริภุญไชยภายหลังรัชสมัยพระนางจามเทวีตามที่ปรากฏในเอกสารตำนานและศิลาจารึกรวมทั้งหลักฐานที่เป็นโบราณวัตถุสถานส่วนใหญ่จะกล่าวถึงกิจกรรมทางศาสนา เช่นการสร้างวัด การบูรณะเจดีย์การปลูกต้นศรีมหาโพธิ์ การสร้างพระพุทธรูปการที่จารึกมีภาษาบาลีปนอยู่ด้วยแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาที่แพร่หลายอยู่ที่เมืองหริภุญไชยในสมัยนั้นน่าจะเป็นพุทธศาสนาหินยานนิการเถรวาทพระมหากษัตริย์ที่ทรงเอาใจใส่และทำนุบำรุงศาสนาตามที่ได้ระบุไว้ในตำนานคือพระเจ้าอาทิตยราชพระองค์ได้สร้างพระธาตุเจดีย์หลวงบรรจุพระบรมธาตุขึ้นกลางเมืองหริภุญไชยส่วนพระอัครมเหสีของพระองค์ พระนางปทุมวดีเทวี ก็ทรงสร้างสถูปชื่อสุวรรณเจดีย์

    เมืองหริภุญไชย อาจจะรวมไปถึงแคว้นหริภุญชัยมีความเจริญมากแห่งหนึ่งในบริเวณภาคเหนือตอนบน และมีความสัมพันธ์กับหัวเมืองอื่น ๆมาตลอดจนมีการยอมรับศิลปวัฒนธรรมจากแหล่งอื่นเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมที่เป็นของตนเองในขณะเดียวกันบริเวณภาคเหนือตอนบนยังมีเมืองที่เป็นอิสระที่มีชาวพื้นเมืองอาศัยมาแต่เดิมและได้พัฒนาขึ้นมาจนมีความเจริญทัดเทียมกับเมืองหริภุญไชย

    พระมหากษัตริย์ที่ครองเมืองหริภุญไชยสืบต่อจากพระนางจามเทวีมีมาหลายชั่วคนจนถึงกษัตริย์องค์สุดท้ายคือพญายีบา ก็ถูกพระเจ้ามังรายกษัตริย์ผู้ครองเมืองเชียงรายในแคว้นโยนก ยกมาตีในปีพ.ศ.1836 ตั้งแต่นั้นมาเมืองหริภุญไชยก็ถูกรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับแคว้นโยนกและกลายเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นล้านนาที่มีพญามังรายเป็นปฐมกษัตริย์และมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเชียงใหม่นับเป็นการสิ้นสุดของเมืองหริภุญไชยที่มีอายุยืนยาวถึง 630 ปี

    เอกสารประกอบ
    กำธร ธิฉลาด ,ประวัติศาสตร์เมืองลำพูน
    ประวัติพระนางจามเทวี,เอกสารเผยแพร่วัดจามเทวีลำพูน

    จักรพงษ์คำบุญเรือง
    jakpong@chiangmainews.co.th.

    ลำพูนมีชื่อเดิมว่า หริภุญชัย หรือ หริภุญไชย "หริ" แปลว่า สมอ "ภุญชัย" แปลว่า ฉันเป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดในล้านนา จากการค้นคว้าทางด้านโบราณคดีในภาคเหนือตามโครงการโบราณคดีประเทศไทยของกรมศิลปากร นั้น มีการขุดพบหลักฐานหลายอย่าง เช่นโครงกระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบผสมลายเขียนสีแดงที่ส่วนคอและขอบปาก กำไลสำริด กำไลหิน กำไลแก้ว ลูกปัดแก้ว ขวานหินขัดเครื่องมือเหล็กและเตาเผา ที่บ้านวังไฮ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน บ้านสันป่าคาและบ้านยางทองใต้ จังหวัดเชียงใหม่

    เมืองหริภุญไชย สร้างขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 1204 โดยวาสุเทพฤาษี (สุเทาฤาษี) เป็นผู้สร้างเพราะเห็นว่ามีชัยภูมิดีเป็นที่พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาประทับและได้รวบรวมชาวบ้านผู้คนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในละแวกน ั้นให้อยู่รวมกันและปรึกษากับสุกกทันตฤาษีผู้เป็นสหาย ให้หาผู้ที่เหมาะสมมาครองเมืองในที่สุด จึงตกลงขอพระนางจามเทวี พระธิดาของพระยาจักกวัติแห่งกรุงละโว้ (ลพบุรี)และเป็นพระมเหสีของเจ้าเมืองรามบุรย์ (อยู่ใกล้เมืองละโว้) มาครองเมืองหริภุญชัยซึ่งขณะนั้น พระนางจามเทวีทรงมีพระครรภ์ได้ 3 เดือน ระหว่างการเดินทางพระนางจามเทวีทรงสร้างพระอาราม ณบริเวณบ้านระมักและสร้างวัดกู่ระมักขึ้นเป็นแห่งแรก

    พระนางจามเทวีพร้อมด้วยบริวารได้เดินทางมาหริภุญชัย ใช้เวลานาน 7 เดือน พระนางทรงนำเอาพระแก้วขาว (เสตังคมณี) ซึ่งสร้างขึ้นที่เมืองละโว้ประมาณ พ.ศ. 700 มาด้วย (ปัจจุบันพระแก้วขาวองค์นี้ประดิษฐานอยู่ที่วัดเชียง มั่น จังหวัดเชียงใหม่)วาสุเทพฤาษี และสุกกทันตฤาษี พร้อมด้วยชาวเมืองได้อัญเชิญพระนางจามเทวีนั่งบนกองทองคำ (กองหญ้าแพรก) แล้วทำพิธีราชาภิเษก เมื่อ พ.ศ. 1206
    หลังจากพระนางจามเทวีครองเมืองได้ 7 วัน ก็ประสูติพระโอรสฝาแฝด 2 พระองค์ในวันเพ็ญเดือน 3 พระโอรสองค์ที่พระนามว่า "มหันตยศ" องค์น้องพระนามว่า "อนันตยศ"หรือ "อินทวระ" พระนางจามเทวีได้นำขนบธรรมเนียมประเพณีอารยธรรมต่าง ๆของละโว้เข้ามาเผยแพร่ และได้ทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองให้ชาวเมืองดำรงตนยึดมั่นอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม ด้วยอำนาจบุญบารมีของพระนางจึงได้ช้างเผือกดั่งสีเงินยวง (ใสบริสุทธิ์) งาทั้งสองข้างมีสีเขียวเรียกว่า "ภู่ก่ำงาเขียว" (ช้างพลายผู้มีผิวกายเปล่งปลั่งและมีงาสีเขียว) จากเชิงเขาอ่างสลุงอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มาเป็นช้างพระที่นั่งคู่บารมี
    ต่อมาขุนวิลังคราช เจ้าเมืองลัวะ ยกทัพมาตีเมืองหริภุญไชยเพื่อชิงพระนางจามเทวีไปเป็นมเหสี เจ้ามาหันตยศ และเจ้าอนันตยศได้ทรงช้างบารมีของพระนางนำไพร่พลออกสู่รบขุนวิลังคราชเห็นรัศมีสีแดงลุกโพลงอยู่ปลายงาช้างเผือก ก็ตกใจกลัวตายหนีไปเมื่อช้างเผือกคู่บารมีได้ตายลงพระนางจึงนำซากช้างฝังไว้พร้อมซากม้าพระที่นั่งของพระโอรส ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า "กู่ช้าง กู่ม้า"

    เมื่อพระราชโอรสทั้ง 2 พระองค์ เจริญวัยขึ้น พระนางจามเทวีจึงสละราชสมบัติให้เจ้ามหันตยศครองเมืองหริภุญชัย และสร้างเมืองเขลางค์ (ลำปาง)ให้เจ้าอนันตยศไปครอง ส่วนพระนางก็บำเพ็ญศีลเจริญภาวนาปาวารณาอยู่ในร่มพระพุทธศาสนาตลอดมา จนมีพระชนมายุได้ 92 พรรษา จึงเสด็จสวรรคต พระเจ้ามหันตยศทรงจัดการพระศพมารดาด้วยการสร้างพระเมรุในป่าไม้ยางแ ห่งหนึ่งซึ่งอยู่ใกล้กับอารามวัดมาลุวาราม (วัดสันป่ายางหลวงที่พระนางจามเทวีสร้างไว้)แล้วถวายพระเพลิง และสร้างสุวรรณจังโกฏิเจดีย์ บรรจุพระอัฐิหุ้มด้วยแผ่นทองคำพร้อมทั้งเครื่องประดับของพระราชมารดา ตลอดจนสร้างวัดขึ้นและขนานนามว่า "วัดจามเทวี" ต่อมายอดพระเจดีย์หักพังลงมา ชาวบ้านจึงเรียกว่า "วัดกู่กุด"สมัยของพระนางจามเทวี ได้ทะนุบำรุงบ้านเมืองทั้งด้านการปกครองและการศาสนาดังนี้

    ด้านการปกครอง
    พระนางจามเทวีวางระเบียบการปกครองเป็นแบบ เวียง วังคลัง นา ดังนี้
    1. แต่งตั้งพระพี่เลี้ยง พระนางเกษวดี เป็นผู้รักษาพระนครและเป็นแม่กองบูรณะพระนคร
    2. แต่งตั้งพระพี่เลี้ยง พระนางปทุมวดีเป็นผู้รักษากิจการต่าง ๆ ภายในพระราชวัง
    3. แต่งตั้งพระยาโชติกราชเศรษฐีเป็นขุนคลัง
    4. แต่งตั้งนักองค์อินทร์ เป็นพระยาโพสพ รักษาที่ดิน ไร่นาเกษตร

    ด้านการศาสนา
    พระนางจามเทวี ทางสร้างพระอาราม 4 ทิศ ขึ้นประจำจตุรทิศของพระนคร เพื่อเป็นพุทธปราการปกป้องคุ้มครองพระนครให้เจริญรุ่งเรืองปราศจากภัยพิบัติต่าง ๆ ดังนี้
    1. วัดอาพัทธราม (วัดพระคงฤาษี) เป็นพุทธปราการประจำทิศเหนือ
    2. วัดอรัญญิกรัมนการาม (วัดดอนแก้ว) เป็นพุทธปราการประจำทิศตะวันออก
    3. วัดมหาสัตตามราม (วัดประตูลี้)เป็นพุทธปราการประจำทิศใต้
    4. วัดมหาวนาราม (วัดมหาวัน)เป็นพุทธปราการประจำทิศตะวันตก<O:p</O:p<O:p</O:p

    ส่วนกำแพงเมืองหริภุญไชย ที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้เป็นกำแพงเมืองที่สร้างขึ้นในสมัยพระเมืองแก้ว พระองค์ทรงเห็นว่าตัวเมืองลำพูนนั้นกว้างขวางมาก เวลามีศึกศัตรูมาติดเมือง ยากจะป้องกันไว้ได้จึงให้รื้อกำแพงเมืองเก่าออก แล้วก่อกำแพงขุดคูเมืองใหม่ให้แคบกว่าเดิม

    หลังจากนั้น มีกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญชัยอีกหลายพระองค์รวมทั้งสิ้น 47 พระองค์ คือ

    1. พระนางจามเทวี 25. พระยาเสละ
    2. เจ้ามหันตยศ 26. พระยาตาลราช
    3. พระเจ้าดูบัญญาราช 27. พระยาชีลักกีราช
    4. พระเจ้าอรุณโณทัย 28. พระยานันทุละ
    5. พระเจ้าสุวรรณมัญชนะ 29. พระยาอินทวระ
    6. พระเจ้าสินิศระ 30. พระยาอาทิตย์ธรรมิกราช
    7. พระเจ้าปทุมราช 31. พระยารัตนะคะราช
    8. พระเจ้ากุลเทวะ 32. พระยาสัพพสิทธิ์ราช
    9. พระเจ้ามิลักขะ 33. พระยาเชษฐราช
    10. พระเจ้ามิลักขะราช 34 . พระยาจักกะยะราช
    11. พระเจ้าโนกราช 35. พระยาถวิลยะราช
    12. พระเจ้าพาลราช 36. พระยากากะยะราช
    13. พระเจ้ากุตตราช 37. พระยาสิริปุญญราราช
    14. พระยาเสละราช 38. พระยาเวทะนะราช
    15. พระยากะมละ 39. พระยาทกตัญญะราช
    16. พระยาโยจะราช 40. พระยาไทยอำมาตยะ
    17. พระยาอัทรสัตตะ 41. พระยาอำมาตปะนะ
    18. พระยาวิชิดทะจักรวรรตราช 42. พระยาทาอามะ
    19. พระยากะมละ 43. พระยาตาราชาละ
    20. พระยาจุลเลระ 44. พระยาโยทะ
    21. พระยาเอกรุจักรวรรติราช 45. พระยาอ้าย
    22. พระยาสุเทวราช 46. พระยาเสต
    23. พระยาไชยะละราช 47. พระยายีบา
    24. พระยาลารยปาลนคร

    ในปี พ.ศ. 2357 พระบามสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเจ้ารัตนหัวเมืองแก้ว (พระยาราชวงศ์คำฝั้น)เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนยุคใหม่ ซึ่งมีจำนวน 10 พระองค์ คือ

    1. เจ้าคำฝั้นพ.ศ. 2357 - 2358


    2. เจ้าศรีบุญมา พ.ศ. 2358 - 2370


    3. เจ้าน้อยอินทร (อิ่น) พ.ศ. 2370 - 2381


    4. เจ้าน้อยคำตัน พ.ศ. 2381 - 2384


    5. เจ้าน้อยธรรมลังกา พ.ศ. 2384 - 2386


    6. เจ้าน้อยไชยลังการ์ พ.ศ. 2386 - 2414


    7. เจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ (เจ้าดาวเรือง) พ.ศ. 2414 - 2431


    8. เจ้าเหมพันธุ์ไพจิตร (เจ้าคำหยาด) พ.ศ. 2431 - 2438


    9. เจ้าอินทยงยศ (เจ้าน้อยอินทยงยศ) พ.ศ. 2438 - 2454


    10. เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ พ.ศ. 2454 - 2486


    เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย จึงให้ยุบเลิกตำแหน่งผู้ครองนครทั้งหมดไม่แต่งตั้งขึ้นใหม่อีก ระบบเจ้าผู้ครองนครจึงสิ้นสุดลงและเริ่มปกครองโดยผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ได้รับการแต่งตั้งจากส่วนกลาง


    ประวัติและตำนานวัดพระธาตุดอยน้อย

    สถานที่ตั้งและอาณาเขต

    วัดพระธาตุดอยน้อยตั้งอยู่บนเขาลูกหนึ่ง ทางทิศตะวันออก ของถนนสายเชียงใหม่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2010
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ๓ เดือนนี้(ตั้งแต่วันที่ ๑๘ ม.ค. ๒๕๕๓-๑๗ เม.ย.๒๕๕๓)คงจะต้องรีบเร่งระดมปัจจัยเพื่อเตรียมการลงรัก ปิดทอง บุษบกหลังนี้ และนำปัจจัยสมทบทุนจัดสร้างผ้าห่มคลุมองค์พระ และเบาะยางพารา และเครื่องไทยทาน ซึ่งรอทางด้านพี่แอ๊วเสร็จจากงานลงรักปิดทองพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ไปพร้อมกัน ผมจึงนำพระบูชาเก่ากรุลำพูนมาให้บูชาเพื่อการดังกล่าว พระบูชาที่ผมมีอยู่ไม่ได้มีมากมาย เพียงแบบพิมพ์ละ ๑-๓ องค์เท่านั้น จึงสามารถแบ่งปันให้กับเพื่อนผู้ปรารถนาจะมีพระบูชาของลำพูนไว้บูชา

    พระบูชาองค์ที่ ๑ แม่พระคง มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔๐,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    การสร้างพระคง

    หลังเสร็จศึกขุนหลวงมิลังก๊ะ ปีพ.ศ. ๑๒๑๖ ด้วยดำริของพระคุณเจ้าได้เห็นว่าเมืองหริภุญไชยรอดพ้นจากภยันตรายเพราะพระรอด จึงคิดจะทำให้บ้านเมืองมั่นคงสืบไป ได้ปรึกษากับพระสหาย ครูบาอาจารย์ มีพระแม่จามเทวีเป็นองค์ประธาน

    ดินที่ใช้ในการจัดสร้างนั้นเกิดจากนิมิตของพระแม่จามเทวีที่ได้นิมิตในคืนที่หลังจากอธิษฐานจิตบอกกล่าวพระแม่ธรณี และเทพเทวาทั้งหลายขอดินที่เหมาะแก่การสร้างพระที่ทำให้บ้านเมืองมีความมั่นคงสืบไป ในนิมิตความฝันได้มีเทวดามาพบ และบอกให้ไปนำดินที่ดอยโหยด มาสร้างพระ ดินนี้เป็นดินที่เต่าเผือกคู่หนึ่งได้ดำน้ำลงไปในท้องน้ำที่ลึกมาก และช่วยกันคาบขึ้นมากองสร้างที่อยู่อาศัย เสร็จแล้ว ก็ดำน้ำช่วยคาบมากองไว้ใกล้รังที่อยู่อาศัยอีกกองหนึ่ง ให้นำกองดินข้างรังที่อยู่อาศัยนี้ไปสร้างพระ เมื่อตื่นจากบรรทม จึงได้พิจารณาความฝันตามนิมิต และปรึกษากับพระโหราจารย์ พร้อมกันไปทอดพระเนตรยังที่ดอยโหยดนั้นก็พบรังที่อยู่อาศัย และดินกองข้างรังที่อยู่อาศัยของเต่าเผือกคู่นั้นตามที่นิมิตฝันทุกประการ จึงได้นิมนต์พระสงฆ์ สวดชัยมงคลคาถา ประพรมน้ำพระพุทธมนต์ที่กองดินนั้น พระแม่จามเทวีได้วางดอกไม้ธูปเทียนยังกองดินนั้น และบอกกล่าวขอดินต่อเต่าเผือกคู่นั้น และพระแม่ธรณีเทพเทวาที่รักษา ให้เสนาอำมาตย์ช่วยกันขุด และแบกหามขนดินกลับมายังตำหนัก พร้อมกับทรงชุบเลี้ยงเต่าเผือกคู่นั้น

    ดินที่นำมาเกลี่ยตากให้แห้ง แล้วบดทับให้เป็นผงละเอียด จากนั้นผสมว่านศักดิ์สิทธิ์ บริกรรมพระคาถาไปด้วยจนว่านกับดินเข้ากันสนิท หมักในหม้อ ๑ เดือน จึงนำมากดพิมพ์พระ

    พิธีกดพิมพ์พระคง ได้จัดปะรำพิธีขึ้นภายในตำหนักพระแม่จามเทวี ก่อนเริ่มการกดพิมพ์พระคง พระสงฆ์ได้สวดมนต์ ปะพรมน้ำพระพุทธมนต์ทั่วบริเวณพิธี ช่วยกันกดพิมพ์พระทั้งคฤหัสถ์ คนบ้าน บรรพชิต แต่เฉพาะคฤหัสถ์ต้องรักษาศีลให้บริสุทธิ์จึงจะเข้าร่วมในพิธีกดพิมพ์พระได้ ห้ามใช้วาจาที่ไม่เป็นมงคล และห้ามถ่มน้ำลายในบริเวณพิธี จัดสร้างเพียง ๑๐,๘๐๐ องค์

    เมื่อกดพิมพ์พระเสร็จแล้ว ต้องทำการเผา พระคุณเจ้าได้กำหนดฤกษ์ยาม และสถานที่คือทิศเหนือบริเวณวัดพระคงฤาษีนั่นเอง ก่อเป็นเตาอบจัดวางพระคงลงในเตาอบ จัดอาสนะสงฆ์โดยรอบสี่ทิศพร้อมทั้งราชวัตรฉัตรธง ครั้นได้ฤกษ์ยามมงคลที่ได้กำหนด พระคุณเจ้าทำพิธีขอขมาลาโทษต่อพระแม่ธรณี จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นนั่งบนอาสนะ และเจริญพระพุทธมนต์ พร้อมทั้งจุดไฟในเตาเผา พระสงฆ์สลับหมุนเวียนเปลี่ยนกันขึ้นไปเป็นเวลา ๕ วัน ๕ คืน ก็หยุดปล่อยให้คลายความร้อนพอจับต้องได้ นำพระคงออกจากเตาเผา ปะพรมด้วยน้ำสุคนธรส จนหอมฟุ้งไปทั้งบริเวณ จากนั้นนำพระคงทั้งหมดไปที่ตำหนักพระแม่จามเทวี รอทำพิธีอบอธิษฐานต่อไป

    ระหว่างที่รอการอบอธิษฐานโดยนำเก็บยังที่เก็บรักษานั้น พระฤาษีทั้งหลายจะใช้อำนาจฌานบารมีปกป้องไม่ให้สิ่งอาถรรพ์เข้ามาแอบแฝงยังองค์พระ พระฤาษีสุเทวะผู้ชำนาญเตโชกสิณ(กสิณไฟ) จะเพ่งแผ่เตโชกสิณเข้าสู่องค์พระ จนเห็นเป็นรัศมีรุ่งโรจน์แผ่คลุมทั้งหมดที่วางรวมกองกัน

    พิธีอบอธิษฐานนี้ ทำให้สิ่งที่ถูกอบมีกลิ่นหอมเปรียบได้กับกิตติศัพท์ กิตติคุณ ที่หอมฟุ้งกระจายไปทั่วทิศ การอบนั้นจัดในเมืองหริภุญไชยทางด้านทิศตะวันออก ตรงบริเวณด้านเหนือวัดธงสัจจะ ใช้ไม้มะค่าในการอบนาน ๕ วัน พระคุณเจ้าให้ชื่อว่า "พระคง" ส่วนหนึ่งบรรจุไว้ที่วัดพระคงฤาษี ที่เหลือแจกจ่ายแก่คนทั่วไป และผู้ประสงค์จะมีไว้สักการะบูชา

    อิทธคุณแห่งพระคง เพื่อความมั่นคงแห่งเมืองหริภุญไชย การผ่านเตโชกสิณนี้ให้อิทธิคุณด้านการรักษา คุ้มกัน จากการศึกษาในตำรา พบว่า โรคภัยไข้เจ็บสามารถจะหายขาดได้หากใช้เตโชกสิณกำกับในตำแหน่งของโรคภัยนั้น ดังนั้นพระคงนอกจากจะมีอิทธิคุณด้านความมั่นคง การปกป้อง แล้วยังหวังผลในด้านการคุ้มกันรักษาอีกด้วย..

    สรุปจากการเรียบเรียงของคุณประสิทธิ์ เพ็ชรรักษ์ ซึ่งเรียบเรียงจากนิมิตของคุณไพศาล แสงไชย

    ว่ากันว่า พระคง มีจำนวนมาก ในวงการก็สันนิษฐานไปได้เรื่อยๆ ว่าถูกไฟไกล ใกล้กันบ้าง บางอย่างก็ไม่สามารถอธิบายได้ก็จะพยายามอธิบาย ผมคิดว่า ต้องลองหาคำอธิบายจากส่วนนี้น่าจะเข้าเค้ากว่าครับว่า เหตุใดที่ยอดธงไชยเฉลิมพลในสมัยรัชกาลที่ ๕ ถึงติดพระคงดำ ไม่ติดพระคงสีพิกุล หรือพระคงเขียว ฯลฯ

    เรื่องราวของพระคงดำที่ผู้คนใฝ่ฝันค้นหากันที่วัดพระคงฤาษี พระคงดำอันเป็นพระหาได้ยากยิ่งของเมืองหริภุญไชย พระคงดำไม่ใช่เกิดจากความบังเอิญที่เกิดขึ้นในเตาเผาโดยที่พระถูกเผาจนสุกที่สุดมีความแข็งแกร่งที่สุด ถ้าเผาต่ออีกพระจะสลายตัวไม่เกาะกัน แต่พระคงดำเป็นพระที่ผสมผงใบลานและ ว่านลงไปด้วยอย่างจงใจโดยมุ่งหวังกฤตยาคมทางด้านคงกระพันชาตรี คนรุ่นปู่รุ่นทวดท่านรู้มาตั้งนมนานแล้ว ในรัชสมัยของรัชกาลที่ ๕ พระองค์ท่านได้พระราชทานธงไชยเฉลิมพลโปรดเกล้าให้เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี(เจิม แสงชูโต)ไปปราบฮ่อ พระองค์ท่านได้ทรงบรรจุสิ่งของมงคลไว้ ๓ ประการ หนึ่งในสามนั้นคือได้อัญเชิญพระคงดำประดิษฐานบนยอดธงไชยเฉลิมพล

    ข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องของธงไชย(ชัย)เฉลิมพล http://www.rtaf.mi.th/news/a04/jan_25/jan_25.htm

    "ธงชัยเฉลิมพล"เป็นธงประจำหน่วยทหารที่ได้รับพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ธงชัยเฉลิมพล ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุด ที่ทหารทุกคน จะต้องเคารพสักการะและพิทักษ์รักษาไว้ด้วยชีวิต การปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับธงชัยเฉลิมพล ทุกขั้นตอน ต้องเป็นไปตาม พิธีการระเบียบ แบบแผนที่วางไว้อย่างเข้มงวดกวดขัน และโอกาสที่จะเชิญออกประจำ จะต้องเป็นพิธีการ ที่มีความสำคัญ เกี่ยวกับเกียรติยศ และเชิดหน้าชูตาเท่านั้น เช่น พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตน และไปราชการสงคราม เป็นต้น ธงชัยเฉลิมพล เริ่มมีในกองทัพบก แต่เดิมจำแนกได้ เป็นสองชนิด ชนิดแรก คือธงชัยเฉลิมพล ประจำกองทัพ อันได้แก่ ธงจุฑาธุซธิปไตย และธงมหาไพชยนต์ธวัช และ ธงชัยเฉลิมพล ชนิดที่สอง คือ ธงชัยเฉลิมพลประจำกองทหาร
    [​IMG]
    ธงจุฑาธุซธิปไตย
    ธงชัยเฉลิมพลประจำกองทัพ สมัยรัชกาลที่ 5



    ธงชัยจุฑาธุซธิปไตย นับเป็นธงชัยเฉลิมพลประจำกองทัพ ธงแรกของไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้สร้างขึ้นพระราชทาน แก่กองทัพไทย เมื่อพุทธศักราช 2418 เพื่อแทนพระองค์ ไปในกองทัพที่ยกไปปราบ พวกฮ่อที่เข้ามาก่อการจลาจล ในแคว้นหัวพันทั้งห้าทั้งหก และสิบสองปันนา

    นำมาสรุปไว้อีกครั้งครับ
    <!-- google_ad_section_end -->





    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET>
    พระบูชาองค์ที่ ๒ แม่พระรอดพุทธคยา มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔๐,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    การสร้างพระรอด

    หลังการขึ้นครองราชย์ราว ๑ เดือน ด้วยดำริของพระคุณเจ้าได้เห็นว่าเมืองหริภุญไชยมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยข้าวปลาอาหาร ทรัพย์สินเงินทอง ศิลปวัฒนธรรมต่างๆ เครื่องทองมีค่าต่างๆ อีกทั้งเจ้าผู้ครองนครยังเป็นอิสตรีที่มีความเลอโฉม เกรงว่าจะมีภัยจากเมือง หรือแคว้นอื่นยังความเดือดร้อนแก่อาณาประชาราษฎร์ อาจทำให้เจ้าเมืองอื่นซึ่งเป็นบุรุษเพศจะจาบจ้วงมาล่วงเกินเอาตามอำนาจกิเลสตัณหาไม่คำนึงถึงศีลธรรมความถูกต้อง อาจเกิดศึกสงครามฆ่าฟันกันขึ้น ผลที่สุดบ้านเมืองที่สร้างขึ้นมานี้ อาจถึงกาลพินาศได้

    ด้วยเมตตาจิตที่บังเกิดขึ้นนี้ พระฤาษีจึงได้คิดถึงคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ จึงคิดที่จะทำการสร้างสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นเป็นองค์แทนพระรัตนตรัยที่จะยังความเคารพนับถือของชาวเมือง พระคุณเจ้าจึงได้นิมนต์พระสงฆ์ที่มีศีลาจารวัตรที่งดงาม ประพฤติพรต บำเพ็ญเพียรจนมีตบะที่แก่กล้าร่วมกันอธิษฐานจิตแผ่พลังอำนาจประจุลงในวัตถุมงคล แผ่บารมีคุ้มครองสรรพสัตว์ตลอดจนวัตถุทั้งหลายให้แคล้วคลาดจากภยันตราย ส่วนหนึ่งเก็บไว้รักษาบ้านเมือง ส่วนหนึ่งแจกจ่ายเสนาบดี อำมาตย์บ่าวไพร่ และชาวบ้านทั่วไปเพื่อกราบไหว้สักการะเป็นสิริมงคล เมื่อถึงคราวที่เภทภัยอันตรายมาสู่บ้านเมือง พลังอันเร้นลับศักดิ์สิทธิ์ที่ประจุไว้แล้วนี้จะเปรียบเสมือนกำแพงปราการป้องกันสรรพภัยให้พ้นจากอันตรายที่เข้ามาย่ำยีได้

    วัตถุมงคลที่ประจุพลังนี้ต้องจัดสร้างให้มีขนาดเล็ก อันสามารถที่จะพกพาติดตัวได้ วัตถุมงคลชิ้นเล็กนี้คือ"พระรอด"นั่นเอง พระฤาษีสุพรหมณะอินโท ดอยเขาพระงาม เวียงละกอน เป็นผู้คิดแบบพระที่จะจัดสร้าง พระฤาษีขัตติยรัตนา เขาสมอคอน เมืองละโว้เป็นผู้ปั้นแกะต้นแบบ พระฤาษีสุเทวะเป็นผู้ให้ชื่อพระพิมพ์นี้ว่า "พระรอด" พระฤาษีได้ตกลงใจใช้ดินที่มีความละเอียด ปราศจากมด ปลวก สัตว์เล็กๆ ไม่มีผู้ใดไปเหยียบย่ำ อยู่ที่ดอยอักขระคีรี(ดอยม่อนมะหินเหล็กไฟ ทิศใต้อำเภอป่าชาง จ.ลำพูน)

    การไปขุดดินเพื่อนำมาสร้างพระรอดนี้ พระแม่จามเทวีได้นิมนต์พระสงฆ์ ๔ รูป พร้อมเสนาอำมาตย์ไปแผ้วถางผืนดินบริเวณที่จะพลีดิน และวางธูปเทียนดอกไม้ บอกกล่าวแก่พระแม่ธรณีขอเนื้อขอหนังพระแม่ธรณีไปเพื่อยังความสิริมงคลแก่บ้านเมือง นิมนต์พระสงฆ์ประจำทิศทั้ง ๔ แล้วสวดพระชัยมงคลคาถาประพรมน้ำพระพุทธมนต์ พร้อมด้วยน้ำสุคนธรสของหอมต่างๆ ให้เหล่าเสนาอำมาตย์ขุดดิน และห้ามพูดจาที่เป็นอัปมงคล ห้ามถ่มน้ำลายลงบนพื้นดินบริเวณนั้น เมื่อได้ดินปริมาณตามต้องการจึงให้เหล่าเสนาอำมาตย์แบกหามดินนั้นมายังพระตำหนัก นำดินมาเกลี่ยตากแห้ง บดเป็นผงผสมกับว่าน บริกรรมพระคาถากำกับขณะผสมดินกับว่านให้เป็นเนื้อเดียวกัน ใส่หม้อดินเผาหมักไว้ ๑ เดือน จากนั้นนำมากดพิมพ์พระรอด

    พิธีกดพิมพ์พระรอด ได้จัดปะรำพิธีขึ้นภายในตำหนักพระแม่จามเทวี ก่อนเริ่มการกดพิมพ์พระรอด พระสงฆ์ได้สวดมนต์ ประพรมน้ำพระพุทธมนต์ทั่วบริเวณพิธี ช่วยกันกดพิมพ์พระทั้งคฤหัสถ์ คนบ้าน บรรพชิต แต่เฉพาะคฤหัสถ์ต้องรักษาศีลให้บริสุทธิ์จึงจะเข้าร่วมในพิธีกดพิมพ์พระได้ ห้ามใช้วาจาที่ไม่เป็นมงคล และห้ามถ่มน้ำลายในบริเวณพิธี ใช้เวลากดพิมพ์พระรอดทั้งสิ้น ๑ เดือน กับ ๙ วัน จัดสร้าง๘๔,๐๐๐ องค์ เท่าจำนวนพระธรรมขันธ์

    เมื่อกดพิมพ์พระเสร็จแล้ว ต้องทำการเผา พระคุณเจ้าได้กำหนดฤกษ์ยาม และสถานที่คือทิศเหนือบริเวณวัดพระคงฤาษีนั่นเอง ก่อเป็นเตาอบจัดวางพระรอดลงในเตาอบ นำไม้รกฟ้ามาทำฟืน จัดอาสนะสงฆ์โดยรอบสี่ทิศพร้อมทั้งราชวัตรฉัตรธง ครั้นได้ฤกษ์ยามมงคลที่ได้กำหนด พระคุณเจ้าทำพิธีขอขมาลาโทษต่อพระแม่ธรณี จากนั้นนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นนั่งบนอาสนะ และเจริญพระพุทธมนต์ พร้อมทั้งจุดไฟในเตาเผา พระสงฆ์สลับหมุนเวียนเปลี่ยนกันขึ้นไปเป็นเวลา ๕ วัน ๕ คืน ก็หยุดปล่อยให้คลายความร้อนพอจับต้องได้ นำพระรอดออกจากเตาเผา ประพรมด้วยน้ำสุคนธรสของหอมจนหอมฟุ้งไปทั้งบริเวณ จากนั้นนำพระรอดทั้งหมดไปที่ตำหนักพระแม่จามเทวี รอทำพิธีอบอธิษฐานต่อไป

    ระหว่างที่รอการอบอธิษฐานโดยนำเก็บยังที่เก็บรักษานั้น พระฤาษีทั้งหลายจะใช้อำนาจฌานบารมีปกป้องไม่ให้สิ่งอาถรรพ์เข้ามาแอบแฝงยังองค์พระ พระฤาษีสุเทวะผู้ชำนาญเตโชกสิณ(กสิณไฟ) จะเพ่งแผ่เตโชกสิณเข้าสู่องค์พระ จนเห็นเป็นรัศมีรุ่งโรจน์แผ่คลุมทั้งหมดที่วางรวมกองกัน

    พิธีอบอธิษฐานนี้ ทำให้สิ่งที่ถูกอบมีกลิ่นหอมเปรียบได้กับกิตติศัพท์ กิตติคุณ ที่หอมฟุ้งกระจายไปทั่วทิศ การอบนั้นจัดในเมืองหริภุญไชยทางด้านทิศตะวันออก ตรงบริเวณด้านเหนือวัดธงสัจจะ ก่อนการอบจะทำ"พิธีข่มศัตราวุธ"ไปในพิธีด้วย

    พิธีข่มศัตราวุธ พระแม่จามเทวีให้เสนาอำมาตย์ ชาวบ้านช่วยกันแผ้วถางพื้นที่บริเวณพิธีที่จะทำพิธีข่มศัตราวุธ หลังจากปัดกวาดเรียบร้อย จึงจะนิมนต์พระสงฆ์ประพรมน้ำพระพุทธมนต์รอบบริเวณ จึงปลูกโรงพิธีใหญ่เต็มบริเวณ ให้ผู้คนขนศัตราวุธมาวางบนพื้นเรียงกัน ทั้งมีด หอก ดาบ หลาว เหลน ด้ามไม้ ฯลฯ ที่เป็นอาวุธทั้งหลายในการศึกสงครามในสมัยนั้นทุกชนิด จากนั้นทำแท่นคล่อมไว้เป็นการข่มศัตราวุธทุกชนิด บนแท่นวางพระรอดนั้นให้วางดอกไม้ของหอม วางเกลี่ยเต็มแท่น คลุมทับด้วยผ้าขาว แล้วจึงนำพระรอดทั้ง ๘๔,๐๐๐ องค์ มาวางทับบนผ้าขาว คลุมทับพระรอดทั้ง ๘๔,๐๐๐ องค์อีกชั้นด้วยดอกไม้ของหอมอีก ๑ ชั้น แล้วนำผ้าขาวมาลาดปูทับดอกไม้ของหอมนั้นเป็นชั้นสุดท้าย รอบแท่นขัดด้วยราชวัตรฉัตรธง วางสะตวงเซ่นสรวงพระแม่ธรณี ท่านท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ องค์ โดยวางไว้ครบ ๔ ทิศ ภายในสะตวงได้วางรูปปั้นสัตว์นานาชนิดเพื่อเป็นการบอกกล่าวกับสรรพสัตว์ทั้งหลายให้รับรู้ไว้ จึงเป็นอันเสร็จสิ้นพิธีข่มศัตราวุธ

    พิธีอบอธิษฐานนี้ ได้นิมนต์พระสงฆ์รวม ๑๙ องค์ อบอธิษฐานติดต่อกัน ๙ วัน ๙ คืน พระสงฆ์สลับหมุนเวียนเปลี่ยนกันขึ้นไป โดยใช้สะหลุงเจาะก้นให้น้ำไหล แต่นำไปลอยในอ่างน้ำใหญ่ หากจมเมื่อไหร่ คนที่เฝ้าก็จะตีฆ้องกลองสัญญาณขึ้น พระสงฆ์ก็จะขึ้นไปสลับหมุนเวียนเปลี่ยนกันขึ้นไป ตลอดเวลา ๙ วัน ๙ คืนนี้ พระแม่จามเทวี และชาวเมืองหริภุญไชยก็จะทำบุญใส่บาตรถวายอาหารพระตลอด ๙ วันเช้านั้น

    เมื่อเสร็จจากพิธีอบอธิษฐานแล้ว ก็ได้นำ"พระรอด"ออกแจกจ่ายเหล่าเสนาอำมาตย์ ชาวบ้าน ชาวเมือง ผู้ที่มาร่วมบุญ ช่วยเหลือพิธี ส่วนหนึ่งนำไปบรรจุที่วัดมหาวัน พร้อมทั้งได้สาปแช่งไว้ว่า หากผู้ใดมาลักขุดเจาะเอาพระรอดออกไปจากพระเจดีย์ ขอให้มันผู้นั้น และผู้ครอบครองพระที่ได้ไปโดยไม่ถูกต้อง จงประสบแต่ความฉิบหาย และความวิบัติ อย่าได้มีความสุขความรุ่งเรือง ให้ตกต่ำยากไร้จนถึงที่สุด ส่วนผู้ที่ได้ไปโดยชอบธรรมขอให้มีความสุข ความเจริญรุ่งเรือง รอดพ้นจากภัยพิบัติทั้งปวง พระรอดจำนวน ๕,๐๐๐ องค์ ได้ทำพิธีบรรจุไว้ในถ้ำใต้ดิน ภายในวัดมหาวัน และผูกพยนต์ไว้คุ้มครอง หากผู้ใดที่ไปนำพระรอดออกมา จะต้องมนต์พยนต์ตัดร่างกายขาดเป็นท่อนๆ พระรอดทั้ง ๕,๐๐๐ องค์นี้ เอาไว้ป้องกันเมืองหริภุญไชย ป้องกันภัยพิบัติที่จะเกิดกับอาณาประชาราษฏร์ เกิดการอยู่เย็นเป็นสุข ไปจนตราบเท่าอายุพระพุทธศาสนาครบ ๕,๐๐๐ ปี

    อิทธิคุณแห่งพระรอด เพื่อการปกป้องเมืองหริภุญไชยให้แคล้วคลาดจากอริราชศัตรู จึงเน้นเรื่องของความแคล้วคลาด มหาอุด คงกระพัน ศิลปการสร้างพระรอดนั้นได้จำลองตำแหน่งแห่งที่ของวัดสี่มุมเมืองไว้ที่องค์พระรอดด้วย ลักษณะรูปทรงของพระรอดเป็นรูปทรงของเมืองหริภุญไชย เป็นพระที่จัดสร้างไว้องค์เล็กเพื่อการพกติดตัว และมีอิทธิคุณสูง

    สรุปจากการเรียบเรียงของคุณประสิทธิ์ เพ็ชรรักษ์ ซึ่งเรียบเรียงจากนิมิตของคุณไพศาล แสงไชย


    หาค้นหาตำราพระเครื่อง พระรอดมักจะได้รับการบอกกล่าวถึงที่มาของพระรอดมหาวันเท่านั้น แต่อยากให้พิจารณา ณ เวลานี้การจะได้พระรอดมหาวันมาซักองค์นั้นต้องยอมรับกันว่า ยากเย็นจริงหากพิจารณาดูที่ราคาประกอบกันไปด้วย เราๆท่านๆต่างไม่มีโอกาสเป็นเจ้าของกันและที่เคยกล่าวว่า พระรอดมีที่วัดมหาวันที่เดียวหรือ? เช่นกันกับคำถามพระสมเด็จที่ทันสมเด็จโตท่านเสก มีเพียง ๓ วัดหลักๆหรือ? ดังนั้นการพิจารณาพระพิมพ์ที่พอจะหาได้ในอายุที่รองลงมา (อายุพระรอดมหาวันอยู่ที่๑,๓๐๐ ปี)ราคาย่อมเยานั้นจึงถูกนำมาพิจารณา..
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    มูลเหตุของการสร้างพระรอด<O:p</O:p
    นับแต่เมืองหริภุญไชยก่อสร้างขึ้นมาด้วยความช่วยเหลือของพระฤาษีโดยพระแม่จามเทวีเป็นองค์อัครปฐมกษัตริย์ การศึกสงครามในสมัยนั้นก็ยังมีระหว่างเมืองต่างๆต่างก็ต้องการจะยึดครองเมืองหริภุญไชย เนื่องจากข้าวปลาอาหาร ดิน น้ำ สมบูรณ์ อีกทั้งหากสามารถยึดเมืองหริภุญไชยได้ก็จะได้พระแม่จามเทวีที่มีสิริโฉมงดงามเป็นมเหสีอีกด้วยจึงเป็นที่หมายปองของเมืองต่างๆ พระฤาษีสมัยนั้นเปรียบเสมือนที่ปรึกษากองทัพ และที่ปรึกษาด้านพุทธศาสนาไปในตัวจึงเห็นสมควรให้สร้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ขึ้นเพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งเมือง แห่งแคว้นจึงได้ให้ช่างสิบหมู่ร่วมกันสร้าง"พระรอด"โดยช่างสิบหมู่ออกแบบองค์พระให้มีความสวยงาม ผสานแนวคิดทางปรัชญาต่างๆลงไปในองค์พระ โดยเลือก"พระปางมารวิชัย"(อ่านว่ามาร-ละ-วิ-ชัย) ซึ่งแปลว่า "ชนะมาร" นั่นเองพระพักตร์ของพระปางมารวิชัยนี้ได้แย้มพระโอษฐ์ของชัยชนะ(ชัยชนะทางธรรมคือการชนะกิเลส ชัยชนะทางโลกคือชัยชนะต่อข้าศึก คล้ายความหมายของ"พระไพรีพินาศ")จุดต่างๆบนองค์พระรอดนี้ได้มีจุดที่แสดงอาณาเขต อาณาบริเวณความยิ่งใหญ่ของเมืองหริภุญไชย จุดสำคัญๆทางศาสนาเช่นตำแหน่งวัด ๔ วัดมุมเมือง(สันนิษฐานว่าเมื่อคราวราชาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์ พระแม่จามเทวีได้สร้างวัดไว้ ๔ วัดตามทิศ เพื่อรองรับการเดินทางมาของพระสงฆ์ พระฤาษี โหราจารย์ราชบัณฑิต เพื่อพักตามทิศทางที่เดินทางมา) คือวัดมหาวัน วัดพระคงฤาษี วัดประตูลี้ วัดดอนแก้ว

    <O:p</O:pพระรอดสร้างจากดินเหนียวที่มีธาตุเหล็ก อลูมิเนียม ส่วนผสมอื่นๆเช่น โพลงเหล็กไหล พระธาตุ อิฐกำแพงเก่า ๔ มุมเมือง ผงตะไบพระโลหะ เกษรดอกไม้ ๑๐๘ น้ำทิพย์จากดอยคำม้อ และสถานที่อื่นๆ เหล็กไหล เหล็กน้ำพี้ ว่านคงกระพัน ๑๐๘ ดินเสาหลักเมือง ดินจากบาดาล ศาสตราวุธ

    จากบางส่วนของหนังสือปทานุกรม พระเบญจภาคี ของศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ อรรคเดช กฤษณะดิลก ขอขอบพระคุณอาจารย์มา ณ ที่นี้ เพื่อการเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้องครับ<!-- google_ad_section_end -->




    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET>
    พระบูชาองค์ที่ ๓ พระสิบสอง มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔๐,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    พระสิบสอง พระพิมพ์มีลักษณะคล้ายพระเจดีย์ ดังภาพ ขอขอบคุณคุณkam สำหรับข้อมูลพระลำพูนที่ให้เป็นวิทยาทานแก่ผู้สนใจพระลำพูนครับ

    ภาพพระสิบสองนี้ ใช้แสงธรรมชาติ


    พระสิบสอง เป็นพระพิมพ์ขนาดใหญ่ ศิลปะหริภุญไชย(ชัย)ที่มีความงดงามอลังการมาก พบในหลายแหล่ง แม้กระทั่งที่ลพบุรี บ่งชี้ว่ามีความเกี่ยวพันทางสิลปะระหว่างหริภุญไชย(ชัย) และละโว้ในอดีต ถือได้ว่าลพบุรีเป็นเมืองพ่อ และลำพูนเป็นเมืองลูก

    พระสิบสองนี้ บรรดาผู้คนต่างๆก็มีความเชื่อมั่นในคุณพระรัตนตรัยที่มีพร้อม และเชื่อกันว่า องค์พระชนิดนี้มีพระพุทธานุภาพพลานุภาพมีความศักดิ์สิทธิ์มากมายสูงส่ง และน่าบูชาควรค่าแกรเสาะแสวงหายิ่ง ในสมัยโบราณชาวบ้านบางคนจะนำพระสิบสองติดตัวไปโดยวิธีใช้ผ้าห่อไว้เป็นอย่างดี สำหรับไว้ป้องกันตัวเองเวลาเดินทงไกล เพื่อทำการติดต่อค้าขายกับคนต่างบ้านต่างเมือง ตลอดจนนำติดตัวไปในยามศึกสงคราม ทุกคนมีความเชื่อมั่น และมั่นใจในพระพุทธานุภาพ และพระพุทธองค์ในองค์พระด้วยความศรัทธายิ่ง ซึ่งผลลัพธ์ก็มีให้เห็นประจักษ์ชัดแก่ตนเป็นอย่างดี คือความปลอดภันในตนเอง และกลับถึงบ้านโดยสวัสดิภาพ พระสิบสองเป็นพระพิมพ์เนื้อดินที่มีหลายขนาด แต่ค่อนข้างจะมีขนาดใหญ่ไม่สะดวกต่อการพกพา ขนาดใหญ่จะมีความกว้าง ๘ ซ.ม. สูง ๑๑ ซ.ม. หนา ๓ ซ.ม. ขนาดเล็กสุดจะมีความกว้าง ๖ ซ.ม. สูล ๙ ซ.ม. หนา ๑ ซ.ม. สีสันของพระสิบสองนั้นจะมีสีสันเหมือนกันกับพระชุดสกุลลำพูนโดยทั่วไป คือ สีเขียวหินครก สีแดงหม้อใหม่ สีดอกจำปา สีดอกพิกุล สีขาวดินดิบ สีดำ สีน้ำตาล สีมันปู สีเทา ฯลฯ

    ศิลปะในองค์พระของพระสิบสองเป็นศิลปะที่คมชัดงดงามอลังการมาก องค์พระที่เป็นองค์ประธานจะสวยสง่างดงามจะมีลักษณะของพระทรงเครื่อง ทรงมงกุฎเป็นกลีบ ๕ กลีบหรือที่เรียกกันว่ากลีบมะเฟือง หรือที่กันว่าเทริดขนนกลักษณะเดียวกับองค์พระประธานของพระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์(พระเลี่ยงเล็ก) มีต่างหูยาวเป็นสร้อยห้อยย้อยลงมาพาดบ่าทั้ง ๒ ข้าง ทรงทับทรวงมีลวดลายประดับอย่างน่าชมยิ่ง หน้าอกเปลือยเปล่า วงหน้าของพระประธานพระสิบสองด฿ดุดัน เข้มขลัง คิ้วติดกันเป็นรูปปีกกา ดวงตากร้าวแข็ง จมูกเป็นสันโด่ง ปลายจมูกจะบานเล็กน้อย ปากดูหนาแบะออกเป็นลักษณะของศิลปะขอมละโว้ชัดเจน จากส่วนประกอบโดยรวมทั้งหมดทำให้ดูว่า พระสิบสองนั้นมีความขลังอยู่ในองค์พระทั้งหมดอย่างน่าทึ่ง และน่าชื่นชมยิ่ง

    พระพุทธปฎิมาขนาดจิ๋วรวม ๕ พระองค์รายล้อมซุ้มเรือนแก้ว อันหมายถึงพระพุทธเจ้า ๕ พระองค์ที่ทรงอุบัติขึ้นในโลกมนุษย์ พระพุทธเจ้า ๕ พระองค์นี้ประทับอยู่บนอาสนะแบบเสาบัว หรือมีกอบัวรองรับอยู่ นักเลงพระรุ่นใหม่ๆที่หาพระกรุ เช่นพระรอดแท้ๆไม่ได้ จะนำเอาพระสิบสองที่แตกหักชำรุด เหลือองค์พระปฎิมาเล็กๆนี้มาตัดใช้แทนพระรอด เรียกกันว่า "พระรอด ยอดพระสิบสอง" ยอดบนสุดของซุ้มประดับจะมีลักษณะเป็นรูปปราสาทพุทธคยา มีองค์พระพุทธเจ้าประทับเด่นอยู่ตรงกึ่งกลางปลายยอด โดยมีคนถือดอกบัวนั่งชันเข่าเล็กๆประดับอยู่ ๒ ข้างรายล้อมไปด้วยเสาหงศ์ที่มีหงส์ตัวเล็กๆ เรียงรายอยู่โดยรอบลดหลั่นเป็นชั้นๆ ได้จังหวะ เป็นสัดส่วนลงตัวอย่างมีศิลปะรวม ๖ ตัว

    รายละเอียดยังมีอีกมากมาย สามารถจะค้นหาจากตำราที่ชื่อว่า "รวมสุดยอดพระเครื่องเมืองลำพูน" ซึ่งค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียงโดย"คุณ สำราญ กาญจนคูหา" หรือรู้จักกันในนาม "นายโบราณ"


    [​IMG]

    ส่วนเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของพระฤาษีทั้งห้า มีปรากฎในพงศาวดารหริภุญไชย วัดสี่มุมเมือง เป็นวัดที่พระนางจามเทวีโปรดให้สร้างขึ้นประจำทิศทั้งสี่ของนครหริภุญไชย เพื่อเป็นพุทธปราการปกป้องคุ้มครองพระนครดังนี้

    วัดพระคงฤาษี หรืออาพัทธาราม ตั้งอยู่ทางด้านทิศเหนือ เป็นวัดโบราณมาแต่เดิม บริเวณวัดกว้างขวางมาก ต่อมาถูกลุกล้ำจากชาวบ้าน ทำให้บริเวณวัดเล็กลง เป็นวัดที่มีชื่อเสียงจากพระพิมพ์ที่เรียกว่า "พระคง"

    บริเวณวัดพระคง มีเจดีย์ที่มีลักษณะแปลกออกไปจากเจดีย์องค์อื่น ๆ ในเมืองลำพูน เชื่อว่าเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นมาพร้อมกับวัดนี้ ต่อมาได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ในหลายยุคหลายสมัย แต่ยังคงรูปแบบเดิมไว้ คือ มีลักษณะเป็นเจดีย์เหลี่ยม มีซุ้มคูหาสี่ด้าน ประดิษฐานรูปฤาษีสี่ตน คือ ด้านเหนือ สุเทวฤาษี ด้านใต้ สุกกทันตฤาษี ด้านทิศตะวันออก สุพรหมฤาษี ด้านทิศตะวันตก สุมณนารกฤาษี ต่อมาได้มีการซ่อมแซมและดัดแปลงพระเจดีย์ขึ้นใหม่ ในสมัยเจ้าดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ เจ้าหลวงลำพูนองค์ที่แปด ได้ให้ช่างพอกหุ้มฤาษีทั้งสี่ แล้วแปลงให้เป็นพระพุทธรูป

    ในสมัยเจ้าหลวงอินทยงยศเกิดอัคคีภัยในเมืองลำพูนครั้งใหญ่ จนคุ้มหลวงที่อยู่ตรงศาลากลางจังหวัดในปัจจุบันถูกไฟไหม้หมด ชาวเมืองต่างโจษขานกันว่า เหตุที่ไฟไหม้ครั้งนี้เกิดจาก การที่เจ้าหลวงองค์ที่แปดได้พอกฤาษีทั้งสี่ตนดังกล่าว
    ในปี พ.ศ.๒๔๗๔ ได้เกิดอสุนีบาตต้องเจดีย์วัดพระคงฤาษี พระพุทธรูปปูนปั้นที่พอกเค้าแกนเดิมของรูปฤาษีทั้งสี่ได้แตกออก เห็นรูปฤาษีที่เป็นโครงศิลาแลงปรากฏออกมา จึงให้มีการดัดแปลงเจดีย์วัดพระคงเสียใหม่ โดยตัดมุมเจดีย์ทั้งสี่ด้าน แล้วประดิษฐานรูปฤาษีสี่ตนไว้ประจำด้านละตน และปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปที่แตกชำรุดไว้เช่นเดิม

    วัดต้นก๊อ ตั้งอยู่ติดกับวัดต้นแก้ว ที่บ้านเวียงยองตำบลเวียงยอง อำเภอเมือง ฯ ปัจจุบันเป็นวัดร้างไม่ปรากฏประวัติ โบราณสถานที่สำคัญเหลือเพียงเจดีย์ที่อยู่ในบริเวณวัดต้นแก้ว

    ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของเจดีย์ เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูน ส่วนฐานล่างสุดเป็นฐานเขียงสี่เหลี่ยมจตุรัสซ้อมกันสามชั้น รองรับชั้นฐานสี่เหลี่ยมจตุรัสย่อเก็จ ส่วนกลางประกอบด้วยชุดบัวถลาแปดเหลี่ยม รองรับองค์ระฆัง ซึ่งเป็นลักษณะที่นิยมมากตั้งแต่ประมาณครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ส่วนบนเป็นบัลลังก์ย่อมุมไม้สิบสอง ส่วนยอดทำเป็นปล้องไฉน เจดีย์ต้นก๊อ ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๘

    วัดดอนแก้ว หรือวัดอรัญญิกรัมมการาม เป็นวัดสำคัญและเก่าแก่มาก ตั้งอยู่ในเขตตำบลเวียงยอง อำเภอเมือง ฯ ในสมัยพระนางจามเทวีถือว่าเป็นวัดในเมือง ภายหลังสายน้ำปิง และแม่กางได้เปลี่ยนทางเดินโดยพระยามังราย จึงทำให้วัดนี้อยู่อีกฟากหนึ่งของแม่น้ำกวง ปัจจุบันวัดดอนแก้วเป็นวัดร้าง มีการขุดพบซากโบราณวัตถุเป็นจำนวนมาก เช่น พระพุทธรูปหินทรายปางสมาธิที่ชำรุด ซึ่งได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ให้สมบูรณ์ แล้วนำมาประดิษฐานไว้บนฐานเจดีย์ ในวัดพระธาตุหริภุญไชยทั้งสามองค์ พระพุทธรูปหินทรายดังกล่าวเป็นพระพุทธรูปศิลปะทวาราวดี มีลักษณะพุทธศิลป์แบบคุปตะ ซึ่งเป็นต้นเค้าของพระเครื่อง หรือพระพิมพ์ขนาดเล็ก คือ พระคง พระบาง พระเปิม นอกจากพระพุทธรูป และพระพิมพ์ต่าง ๆ ที่ขุดค้นพบในบิรเวณวัดแห่งนี้แล้ว ยังพบศิลาจารึกต่าง ๆ อีกมาก
    ในอดีตวัดดอนแก้วได้รับการเอาใจใส่จากกษัตริย์ในราชวงศ์จามเทวีวงศ์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระเจ้าสรรพสิทธิ์ธรรมิกราช ได้ทรงผนวช และบำเพ็ญที่วัดนี้พร้อมกับพระโอรสสององค์ ดังมีเรื่องราวที่ปรากฎในศิลาจารึกที่ขุดพบ

    วัดประตูลี้ หรือวัดมหารัตนาราม ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองทางด้านทิศใต้ เป็นวัดที่มีพระพิมพ์ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่มากมาย เช่น พระเหลี้ยมหลวง พระเหลี้ยมหม้อ พระเหลี้ยมเล็กพิมพ์นิยม พระลือหน้ามงคล พระบางจิ๋ว พระสามท่ากาน พระสามแบบซุ้มกระรอกกระแต พระสิบแปด พระสิบสอง พระหูยาน นอกจากนี้ยังพบพระพิฆเนศซึ่งทำด้วยหินทรายแกะสลักขนาดใหญ่

    เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๙ ได้พบโถโบราณเนื้อดินเผา มีรูปลักษณะคล้ายตะเกียงโบราณแบบโรมัน มีฐานเป็นชั้น ๆ ตรงกลางปอง มีคอยาวเรียวขึ้นไปถึงบริเวณปาก ภายในโถบรรจุพระเหลี้ยมหลวงประมาณ ๓๐๐ องค์ เป็นพระพิมพ์ดินเผาเนื้อค่อนข้างหยาบ

    วัดมหาวัน หรือวัดมหาวนาราม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวเมือง เป็นวัดสี่มุมเมืองที่มีสถาพสมบูรณ์ที่สุด โบราณวัตถุที่มีอยู่คู่กับวัดมาตั้งแต่เดิมคือ พระพุทธสักขีปฏิสากร หรือพระหินศิลาดำ หรือที่เรียกกันในนามว่า พระรอดหลวง หรือแม่พระรอด ปัจจุบันประดิษฐานนอยู่บนแท่นแก้วหน้าองค์พระประธาน ในวิหารหลวงที่สร้างขึ้นใหม่

    พระหินศิลาคำนี้ พระนางจามเทวีได้อัญเชิญมาจากกรุงละโว้ กับพระพุทธรูปสำคัญอีกองค์คือ พระเจ้าละโว้ และพระแก้วขาว (พระเสตังคมณี) เมื่อครั้งเสด็จมาครองเมืองหริภุญไชย

    กษัตริย์ที่ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดมหาวันคือ พญาสรรพสิทธิ์ ได้สร้างวัดมหาวันกับเจดีย์ และให้สร้างพระพุทธรูปองค์หนึ่งคือ พระประธานของวัดมหาวัน มีพุทธลักษณะที่งดงาม

    วัดมหาวัน มีพระรอดซึ่งเป็นพระพิมพ์เนื้อดินเผาที่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ และยังมีการขุดพบพระพิมพ์ชนิดต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูป พระบูชาสมัยโบราณต่าง ๆ อีกมาก

    http://www.amulet2u.com/board/q_view.php?c_id=3&q_id=1927&PHPSESSID=8c66862fad6fae79a



    พระรอดยอดพระสิบสอง เป็นพระองค์บนสุดที่อยู่เหนือเศียรองค์พระประธานของพระสิบสอง ซึ่งเป็นพระเครื่องที่สร้างขึ้นชุดเดียวกัน กับพระรอดกรุวัดมหาวัน พระคงและพระสกุลลำพูน มีทั้งแบบที่ตัดก่อนบรรจุกรุและที่นำพระสิบสองที่หักชำรุดมาตัดแต่งภายหลัง พระแตกกรุออกมาแล้ว นิยมเล่นหาแบบที่ตัดก่อนลงกรุมากกว่าพระที่นำมาตัดภายหลัง

    ชาวล้านนาเชื่อกันว่าองค์พระประธานของพระสิบสองหรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “พระยอดขุนพลหริภุญไชย(ชัย) หรือยอดขุนพลเมืองเหนือ” นั้นสร้างแทนองค์พระมหากษัตริย์ในสมัยนั้นที่มีพระประปรีชาสามารถ ในการรบทัพจับศึกมาก ส่วนพระด้านข้างทั้งสองก็แทนบรรดาขุนศึกคู่บารมีของพระองค์ โดยที่ขุนศึกทุกคนมีเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจที่เคารพเหมือนกันคือ ศาสนา โดยมีตัวแทนคือ องค์พระปฎิมาองค์เล็กๆ ซึ่งก็คือ พระรอดที่เป็นสัญลักษณ์แห่งเมืองลำพูนนี้เอง นับว่าเป็นกุสโลบายและมันสมองที่ชาญฉลาดของช่างผู้แกะพิมพ์พระในสมัยก่อน พระรอดยอดพระสิบสองนี้จึงจัดเป็นพระที่อยู่ในสกุลสูงมาก มีพุทธคุณเฉกเช่นเดียวกับพระรอดกรุวัดมหาวันทุกประการ แต่สนนราคานั้นย่อมเยาว์กว่ามากอยู่ในหลักหมื่นไม่เกินแสนเท่านั้น แต่จำนวนพระมีน้อยมากไม่ค่อยมีพระหมุนเวียนให้เห็นเท่าใด แต่ถ้าท่านมีวาสนาได้พบเจอแล้วมีกำลังพอก็ไม่ควรจะปล่อยโอกาสอันดีผ่านมือไปเป็นอันขาด เพราะพระรอดแห่งเมืองลำพูนไม่ใช่เพียงกรุวัดมหาวันเพียงกรุเดียวเท่านั้น ซึ่งราคาก็สูงเกินคนทั่วไปจะไขว่คว้าไว้ได้ แล้วท่านจะจ่ายแพงกว่าทำไมล่ะครับ
    Untitled Document<!-- google_ad_section_end -->




    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]





    </FIELDSET>
    พระบูชาองค์ที่ ๔ พระสิบแปด มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔๐,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    พระสิบแปด

    พระสิบแปด จ.ลำพูน เป็นพระพิมพ์ในยุคสมัยหริภุญไชย(ชัย) อายุราว ๘๐๐-๑,๒๐๐ ปี ขนาดโดยประมาณ ฐาน ๑๐.๕ ซ.ม. สูง ๑๗.๕ ซ.ม. จัดเป็นพระในตำนานอีกพิมพ์ เนื่องจากพบสภาพสมบูรณ์เต็มพิมพ์น้อยมาก ส่วนใหญ่จะบิ่นหักไม่เต็มพิมพ์

    ลักษณะทรงพิมพ์มีความคล้ายกับพระสิบสอง เพียงแต่ว่า องค์ซ้ายขวาชั้นล่างไม่มีฐานบัวรองรับ บ้างว่าไม่ใช่พระพุทธเจ้า ส่วนพระสิบแปดนั้นมีพระพุทธเจ้าอยู่ ๓ ชั้น ชั้นที่ ๑(ชั้นล่าง) มี ๗ พระองค์ ชั้นที่ ๒ (กลาง) มี ๗ พระองค์ ส่วนชั้นที่ ๓ (ชั้นบนสุด) มี ๑ พระองค์ รวมเป็น ๑๘ พระองค์ ชั้นบนสุดนี้บ้างก็เรียกว่าพระรอดยอดพระสิบแปด ใช้แทนพระรอด มหาวัน

    พระสิบแปดองค์นี้ หากสังเกตด้านหลังองค์พระได้บรรจุเส้นผมเอาไว้ ๑ เส้น หากสามารถตรวจอายุเส้นผมนี้ได้ ก็จะทราบอายุที่แท้จริงขององค์สิบแปดองค์อย่างแน่นอนครับ..


    ไขปริศนา พิมพ์พระสิบแปด

    หลายวันก่อนมีโอกาสไปดูสถานที่ขุดพบพระสิบแปด หลังจากได้ข่าวลือมาว่า มีพระแตกกรุขึ้นมาเมื่อกลางเดือน กรกฎาคม ที่ผ่านมา ข่าวว่าชาวบ้านได้พระบูชาและพระลำพูน จำนวนหนึ่ง ตอนนั้นผู้เขียนก็ไม่ได้ใส่ใจมากนัก เพราะมีข่าว แต่ไม่มีของ กลัวจะเป็นพระเก๊ยัดกรุ จนอาทิตย์ก่อนมีชาวบ้านส่งรูปพระสิบแปดมาให้ดู แถมยังท้าให้ไปดูของจริงว่า เก่า แท้ แน่นอนอีกด้วย ผู้เขียนจึงได้เดินทางไปดูสถานที่พระแตกกรุ บ้านท้ง ต.ท่าตุ้ม อ.ป่าซาง จ.ลำพูน บริเวณที่พบเป็นวัดร้างเก่า เป็นกู่ร้าง ติดแม่น้ำปิง ในสวนลำใยของชาวบ้าน เนื่องจากดินถูกน้ำเซาะจนทรุดตัวลง ทำให้เจดีย์พังลงไปในแม่น้ำปิง ตอนไปดู (ก่อนน้ำท่วม) เหลือเพียง ซากฐานเจดีย์ไม่ถึงครึ่ง ส่วนใหญ่จมลงไปในน้ำ ทำให้พระที่บรรจุอยู่ในเจดีย์หายไป ชาวบ้านจึงพากันแตกตื่นงมหาพระในแม่น้ำปิง

    ตามรอยพระแม่จามเทวีกันก็จะพบว่า พระพิมพ์ขนาดใหญ่หลายพิมพ์เช่นพระสิบสอง พระสิบแปด คล้ายการจำลองพระธาตุเจดีย์มาไว้บนพระพิมพ์ เช่นพระธาตุเจดีย์กู่กุด ฯลฯ

    วัดจามเทวี
    วัดจามเทวี เป็นวัดที่มีความสำคัญทั้งทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี มีความเก่าแก่มากวัดหนึ่งในจังหวัดลำพูนตั้งอยู่ถนนจามเทวี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ ๑๒ ไร่ ๑ งาน ๕ ตารางวา

    โดยทั่วไปเรียกกันว่าวัดกู่กุด ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าสร้างตั้งแต่สมัยใด ส่วนใหญ่เป็นการสันนิษฐานจากเอกสารชั้นหลัง ประกอบกับตำนานและนิยาย ซึ่งกล่าวกันว่า พระราชโอรสของพระนางจามเทวี คือ พระเจ้ามหันตยศ และพระเจ้าอนันตยศ โปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นเพื่อถวายพระเพลิง แล้วโปรดให้สร้างเจดีย์เหลี่ยมมียอดหุ้มด้วยทอง เรียกชื่อว่า สุวรรณจังโกฏิ แต่จากการที่ได้พบศิลาจารึกวัดกู่กุด บริเวณเชิงพระธาตุเจดีย์กู่กุด (ศิลาจารึกลำพูนหลักที่สอง ซึ่งปัจจุบันจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน) ศิลาจารึกหลักนี้กล่าวถึงการปฏิสังขรณ์รัตนเจดีย์กู่กุด ที่ได้หักพังลงเนื่องจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่ได้เกิดขึ้นในสมัยนั้น ฉะนั้นลักษณะทางศิลปกรรมของพระเจดีย์ที่วัดกู่กุดนี้ น่าจะอยู่ในสมัยของพระเจ้าสรรพสิทธิ์ คือ พุทธศตวรรษที่ ๑๗ และน่าจะไม่เก่าเกินรัชกาลพระเจ้าสววาธิสิทธิ์ หลังจากนั้นวัดนี้ก็คงถูกปล่อยให้ทิ้งร้าง จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๗๙ เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ได้อาราธนาครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา มาช่วยก่อสร้างโบสถ์ วิหาร กุฏิ ตลอดจนบูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานที่สำคัญภายในวัด แล้วสถาปนาวัดจามเทวีขึ้นใหม่มีพระภิกษุอยู่จำพรรษา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๐ มีชื่อว่า วัดจามเทวี จนกระทั่งทุกวันนี้

    โบราณสถานที่สำคัญในวัดจามเทวี
    ๑. พระเจดีย์กู่กุด ลักษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นเจดีย์สี่เหลี่ยมก่อด้วยศิลาแลง ฐานล่างทำเป็นหน้ากระดานสามชั้น องค์เจดีย์มีลักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยม ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไปห้าชั้น แต่ละชั้นจะมีซุ้มจระนำ ด้านละสามซุ้ม ภายในซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปปางประธานอภัย เป็นพระพุทธรูปปั้นหุ้มศิลาแลงแบบนูนสูง รวมทั้งหมด ๖๐ องค์ ซุ้มจระนำทำเป็นซุ้มโค้งแบบสองหยัก ซึ่งเป็นลักษณะซุ้มสมัยทราวดีตอนปลาย กระหนกปั้นเป็นกระหนกผักกูด ตัวเหงาที่ปลายซุ้มเป็นแบบทราวดี บริเวณมุมทั้งสี่ของแต่ละชั้นยกเว้นชั้นบัวกลุ่ม และปล้องไฉน ส่วนยอดบนสุดได้หักหายไปจึงมีการเรียกเจดีย์องค์นี้ว่า เจดีย์กู่กุด พระเจดีย์องค์นี้ ถือเป็นแบบถาปัตยกรรม ที่มีความสำคัญในศิลปกรรมหริภุญไชย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ มีรูปแบบคล้ายกับสัตตมหาปราสาทที่เมืองโบลนนาลุวะ ประเทศศรีลังกา และเป็นแบบที่แพร่หลาย เคยพบร่องรอยเจดีย์แบบนี้ที่ เวียงท่ากาน เวียงมโน และนิยมสร้างกันในสมัยต่อมา ในแคว้นล้านนาและสุโขทัย เช่น วัดเจดีย์เหลี่ยม จังหวัดเชียงใหม่ วัดพญาวัด จังหวัดน่าน วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย

    ๒. เจดีย์แปดเหลี่ยม ลักษณะทางสถาปัตยกรรมมีแผนผังเป็นรูปแปดเหลี่ยมซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป สามารถแบ่งได้เป็นสามส่วนคือ ส่วนฐานประกอบด้วยฐานแปดเหลี่ยมซ้อนกันสองชั้น ถัดขึ้นไปเป็นชั้นบัวถลารองรับองค์เรือนธาตุ โดยส่วนล่างของเรือนธาตุทำเป็นฐานลดท้องไม้ลงเล็กน้อยจากระดับผนังของเรือนธาตุ ส่วนเรือนธาตุมีผังเป็นรูปแปดเหลี่ยมทรงสูง ประดับซุ้มจระนำภายในประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืน ซุ้มมีลักษณะเป็นวงโค้งสามวง ภายนอกประกอบด้วยทรงฟักเพกา หรือเรียกว่า ซุ้มเคล็กส่วนสันมุมทั้งแปดจะก่อเรียงอิฐยื่นออกมาจากผนังได้ระดับเดียวกับกรอบซุ้ม เป็นการแบ่งขอบเขตของแต่ละด้าน ส่วนยอดถัดจากตัวเรือนธาตุขึ้นไป เป็นบัวถลาลดท้องไม้สองชั้น ขนาดเล็กลดหลั่นกันขึ้นไปเล็กน้อย รองรับฐานแปดเหลี่ยมเตี้ยๆ มีลักษณะลดท้องไม้เช่นกันแต่ที่บริเวณท้องไม้แต่ละด้านจะมีซุ้มทรงสามเหลี่ยม ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปประทับนั่งปางสมาธิ ถัดขึ้นไปเป็นชั้นลวดบัวรองรับองค์ระฆังทรงกลม ส่วนยอดบนสุดหักหายไปแล้ว เทคนิคการก่อสร้าง เจดีย์แปดเหลี่ยมนี้ ก่อด้วยอิฐทั้งหลัง ภายนอกฉาบปูนและปั้นปูนประดับ มีการบูรณะซ่อมแซมหลายครั้ง ส่วนโครงสร้างมีการซ่อมเสริมจนเต็มรูปเจดีย์ทั้งสององค์ ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๕๒ ตอนที่ ๗๕ ลงวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๘ และ เล่มที่ ๙๖ ตอนที่ ๑๖๗ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๒


    ********************************************************
    ที่มา : หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดลำพูน พ.ศ.2544
    http://www.rd.go.th/lamphun/58.0.html

    อ่านเนื้อความแล้วอาจจะไม่เห็นภาพ ก็ชมภาพประกอบเอานะครับ ไม่ค่อยจะมีผู้นำมาให้ชมเสมือนกับได้เดินทางไปเองหรอกครับ ก็ถือว่าเป็นธรรมทานเพื่อเผยแพร่ให้ได้เห็น ให้ได้รู้จัก และเป็นข้อมูลให้ผู้สนใจได้ศึกษาต่อไปครับ








    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET>
    พระบูชาองค์ที่ ๕ พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์ พิมพ์ใหญ่ใบโพธิ์ มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒๕,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์ พิมพ์ใหญ่ใบโพธิ์ หรือพระเลี่ยง

    ไม่ได้มีเพียงพิมพ์ฐานเหลี่ยม และฐานบัวกลมเท่านั้น แต่องค์นี้มีขนาดที่ใหญ่มาก ลักษณะคล้ายใบโพธิ์ ไม่สามารถเลี่ยมแขวนคอบูชาติดตัวได้เลย ต้องตั้งบูชาเท่านั้นครับ

    ประวัติการสร้างตามบันทึกน่าสนใจมาก ผมเคยพิมพ์ไว้ประกอบพระพิมพ์พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์พิมพ์เล็กที่เปิดให้ทำบุญกันเพียง ๗ องค์ ก็หมดลงในชั่วพริบตา เอาไว้จะหาเวลาเรียบเรียงขึ้นใหม่นะครับ

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    พระบูชาองค์ที่ ๖ พระกวาง มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒๕,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    พระกวาง
    จากการสำรวจ และขุดค้นแหล่งโบราณคดีในเขตจังหวัดลำพูน ของกรมศิลปากร และมหาวิทยาลัยศิลปากร และโบราณวัตถุที่ชาวบ้านพบโดยบังเอิญ ซึ่งได้มีการพบโบราณวัตถุเนื่องในพุทธศาสนาประเภทพระพิมพ์จำนวนหนึ่งคือพระพิมพ์ซุ้มพุทธคยาพระกวาง พระลือหน้ามงคล พระแปด(ความจริงคือพระสิบสอง แต่บุคคลบางกลุ่มได้ตั้งข้อสัณนิษฐานว่าไม่ใช่พระ ๔ คน(ตน) อยู่ ๒ ข้างซ้ายขวา จึงเหลือเพียง ๘ องค์ แต่คนทั่วไปรู้จักกันในนามพระสิบสอง) และพระสิบแปด โดยจะขุดพบในชั้นวัฒนธรรมสมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๑ )แต่จากการศึกษาเปรียบเทียบด้านรูปแบบศิลปะของพระพิมพ์แล้วพบว่า พระพิมพ์ซุ้มพุทธคยา มีรูปแบบเหมือนพระพิมพ์ที่แพร่หลายอยู่ในประเทศพม่า ที่เมืองพุกาม และพะโค ช่วงพุทธศตวรรษ ที่ ๑๖

    ส่วนพระลือหน้ามงคล พระเลี่ยง พระเลี่ยงหลวง และพระกวาง นั้น เป็นกลุ่มพระพิมพ์ศิลปหริภุญไชย(ชัย) แบบมอญ อิทธิพลทวาราวดี และมอญรามัญเดิม ที่มีอายุอยู่ในช่วง พุทธศตวรรษ ที่ ๑๕ - ๑๖ เช่นกัน โดยเป็นกลุ่มพระพิมพ์ที่มีคติและรูปแบบมาจากเรื่องราวในพุทธประวัติสองตอนคือ ตอนตรัสรู้ใต้ต้นโพธิ์ที่พุทธคยา และตอนแสดงปฐมเทศนาที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน (สวนกวาง) ซึ่งเป็นภาพพุทธประวัติที่นิยมสร้างกันในประเทศอินเดีย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในสกุลช่างคุปตะ (พุทธศตวรรษ ที่ ๑๙-๑๑) และสกุลช่างปาละ (พุทธศตวรรษ ที่ ๑๒-๑๔)สำหรับ พระลือหน้ามงคล ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มปรกโพธิ์ (กลุ่มพระรอด พระคง พระเพิ่ม(เปิม) และพระบัง(บาง)) สร้างตามคติและรูปแบบที่แสดงเรื่องราวในพุทธประวัติตอนตรัสรู้ และปฐมเทศนา ซึ่งแสดงภาพพระพุทธเจ้าปางมารวิชัย (ปางตรัสรู้) และมีกวางสองตัวหมอบอยู่ข้างๆ(สัญลักษณ์ของการแสดงปฐมเทศนาที่ป่ากวาง) แสดงว่าอิทธิพลพุทธศาสนาที่ปรากฏในเมืองหริภุญไชย(ชัย)นั้น มาจากหลายสายมีอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะ ผ่านวัฒนธรรมทวาราวดีเข้ามาทางหนึ่ง และคตินิยมของชาวพื้นเมืองผสมผสานเข้าไปจึงปรากฏรูปแบบพระพิมพ์ที่มีลักษณะแตกต่างไปจากต้นแบบ กลายเป็นแบบเฉพาะของชุมชนในวัฒนธรรมหริภุญไชย(ชัย)<!-- google_ad_section_end -->





    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET>
    พระบูชาองค์ที่ ๗ พระปลีกล้วย มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒๕,๐๐๐ บาท..
    เข้าบัญชีธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7


    พระปลีกล้วย
    เป็นพระที่ขุดได้เป็นจำนวนมาก ในเมืองลำพูน ศิลปะองค์พระดูคล้ายไปทางขอมละโว้ ซึ่งก็เคยพบว่ามีการขุดพระดังกล่าวได้ในหลายที่ของลพบุรี เช่น พระจามเทวีทรงบัลลังก์หลวง(เลี่ยงหลวง) พระสามท่ากาน พระซุ้มปรางค์ครุฑแบก ฯลฯ

    ประวัติของพระพิมพ์พระปลีกล้วยค่อนข้างมีน้อยมาก หนังสือตำราที่ใช้อ้างอิงก็มีน้อยเล่มที่จะนำมาเปิดเผย เช่น รวมสุดยอดพระเครื่องลำพูน ของคุณสำราญ กาญจนคูหา หรือรู้จักกันในนามของ "นายโบราณ" ก็รอเพียงเพื่อนผู้สนใจค้นคว้ากันต่อไป เพื่อสืบตำนานพระเครื่องเมืองหริภุญไชย(ชัย)กันครับ..<!-- google_ad_section_end -->




    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]






    </FIELDSET>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2010
  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    องค์พระฤาษีวาสุเทพ และสุกกทันตฤาษี จำนวน ๓ องค์(หมดแล้ว)
    องค์พระฤาษีวาสุเทพ และสุกกทันตฤาษี จำนวนให้บูชาเพียง ๓ องค์ เพราะที่เหลือจะให้บูชาสมทบทุนมูลนิธิพระดาบสของในหลวงในวาระข้างหน้าอีกครั้งหนึ่ง เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศล โดยสามารถโอนเงินเข้าไปที่มูลนิธิพระดาบสโดยตรงครับ

    เรามักจะได้รับข้อมูลบางอย่างที่เราเองก็เกิดไม่ทันสมัยการสร้าง องค์พระฤาษีที่จัดสร้างกันส่วนมาก มักจะได้รับการบอกเล่า บอกกล่าวว่า คือพระฤาษีนารอท ผมกลับมองตรงข้ามกับข้อมูลเหล่านี้ และต่อไปเพื่อนๆอาจจะเห็นผมพิมพ์ชื่อพระพิมพ์แปลกๆที่ฟังดูแล้วไม่คุ้นหูที่เซียนพระนำเสนอ แต่ผมจะวงเล็บไว้ให้ได้ทราบกันว่า วงการเขาเรียกว่าอะไร และที่สมเหตุสมผลนั้นควรเรียกว่าอะไร จะได้ไม่พากันเข้าป่า เข้ารก เข้าพง

    เรื่องราวจะสนุกมากครับ หากเพื่อนๆได้ติดตามในความเห็นที่ ๗-๙ เกี่ยวกับเรื่องราวของละโว้ และหริภุญไชย จากนั้นเราจะสามารถวิเคราะห์กันได้เองว่า ทำไมพระฤาษีองค์นี้ถึงมีนามว่า"พระฤาษีวาสุเทพ และสุกกทันตฤาษี" ทั้งหมดนี้ต้องขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ปู่ประถม อาจสาครที่กรุณาบันทึกเรื่องราวการวิเคราะห์พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า และพระพิมพ์สกุลสมเด็จขึ้นมาเป็นพื้นฐานของการวิเคราะห์พระพิมพ์อื่นๆ

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒,๐๐๐ บาท

    A1->คุณพุทธันดร
    A2->คุณhongsanart
    A3->คุณชวภณ

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010001.jpg
      P1010001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      185.7 KB
      เปิดดู:
      288
    • P1010002.jpg
      P1010002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      165.1 KB
      เปิดดู:
      227
    • P1010003.jpg
      P1010003.jpg
      ขนาดไฟล์:
      171 KB
      เปิดดู:
      246
    • P1010004.jpg
      P1010004.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.8 KB
      เปิดดู:
      241
    • P1010005.jpg
      P1010005.jpg
      ขนาดไฟล์:
      172.6 KB
      เปิดดู:
      252
    • P1010006.jpg
      P1010006.jpg
      ขนาดไฟล์:
      161.2 KB
      เปิดดู:
      239
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 มีนาคม 2008
  11. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระแม่จามเทวี องค์อัครปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญชัย จำนวน ๓ องค์ (หมดแล้ว)

    ส่วนมากจะพบเพียงเนื้อทองแดงในปัจจุบัน ไม่มีวัดใดจัดสร้างเป็นเนื้อดินเผาในปัจจุบันแล้ว
    [​IMG]

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๑,๐๐๐ บาท
    B1->คุณพุทธันดร
    B2->คุณชวภณ
    B3->คุณdragonn

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010007.jpg
      P1010007.jpg
      ขนาดไฟล์:
      122.4 KB
      เปิดดู:
      202
    • P1010008.jpg
      P1010008.jpg
      ขนาดไฟล์:
      127.3 KB
      เปิดดู:
      191
    • P1010009.jpg
      P1010009.jpg
      ขนาดไฟล์:
      130.4 KB
      เปิดดู:
      204
    • P1010010.jpg
      P1010010.jpg
      ขนาดไฟล์:
      126.5 KB
      เปิดดู:
      204
    • P1010011.jpg
      P1010011.jpg
      ขนาดไฟล์:
      119.9 KB
      เปิดดู:
      213
    • P1010012.jpg
      P1010012.jpg
      ขนาดไฟล์:
      119.2 KB
      เปิดดู:
      195
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 มีนาคม 2008
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระสิกขี หรือพระสุขโข จำนวน ๑ องค์(หมดแล้ว)

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๑๐,๐๐๐ บาท


    C1->คุณnongnooo


    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010013.jpg
      P1010013.jpg
      ขนาดไฟล์:
      189.8 KB
      เปิดดู:
      264
    • P1010014.jpg
      P1010014.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.2 KB
      เปิดดู:
      205
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 เมษายน 2008
  13. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระร่วงเจ้า จำนวน ๓ องค์(หมดแล้ว)


    หากมีเวลาผมจะบอกเล่าเรื่องของพระร่วงเจ้าให้ได้ทราบกัน เป็นพระพิมพ์เพียงพิมพ์เดียวที่ผมเลือกมอบให้เป็นคนๆไป คือไม่ใช่ว่าจะมีเงินแล้วบูชากันได้ทุกคน และเคยตั้งสัจจะว่าจะมอบให้เฉพาะผู้ที่จะรักษาอารมณ์ของกรรมบถ ๑๐ ให้ได้เท่านั้น เนื่องจากว่าหากไม่สามารถจะเจริญวจีกรรมทั้ง ๔ ได้ การบูชาไปนั้นไม่มีผล และบุคคลที่ได้บูชาพระพิมพ์นี้ไป จะต้องมีจิตที่เกี่ยวเนื่องกับพระร่วงเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่ง

    สรุปว่าถือเป็นพระพิมพ์เพียงพิมพ์เดียวจริงๆที่ตัดสินใจอยู่นานว่าจะเปิดให้ทำบุญกันหรือไม่ สุดท้ายนำออกให้บูชาเพียง ๓ องค์เท่านั้นครับ..

    ***เงื่อนไขของการบูชาพระร่วงเจ้าทั้ง ๓ องค์นี้ คือต้องอรรถาธิบายถึงมูลเหตุแรงจูงใจในการรู้สึกอยากจะขอบูชาพระร่วงเจ้าองค์นี้ก่อนนะครับ จึงจะสรุปว่าจะมอบให้ หรือไม่มอบให้...

    <!-- / message --><!-- sig -->

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔,๐๐๐ บาท

    D1->คุณตั้งจิต

    D2->คุณdragonlord

    D3->คุณศิษย์ต่างแดน

    เพิ่มรหัส D4-> มอบสิทธิ์นี้ให้คุณnarin96 เป็นการมอบส่วนของผมเองให้ เนื่องจากเป็นการจองในเวลาที่ไล่เลี่ยกัน และผมได้ตอบรับเอาไว้ก่อน จึงทำตามสัญญาแม้ว่าจะเกินจากจำนวนที่ตั้งไว้แล้ว


    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7

    สรุป
    พระร่วงเจ้า จำนวน ๔ องค์ เป็นพระพิมพ์เพียงพิมพ์เดียวที่ผมเลือกมอบให้เป็นคนๆไป คือไม่ใช่ว่าจะมีเงินแล้วบูชากันได้ทุกคน และเคยตั้งสัจจะว่าจะมอบให้เฉพาะผู้ที่จะรักษาอารมณ์ของกรรมบถ ๑๐ ให้ได้เท่านั้น เนื่องจากว่าหากไม่สามารถจะเจริญวจีกรรมทั้ง ๔ ได้ การบูชาไปนั้นไม่มีผล และบุคคลที่ได้บูชาพระพิมพ์นี้ไป จะต้องมีจิตที่เกี่ยวเนื่องกับพระร่วงเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่ง

    สรุปว่าถือเป็นพระพิมพ์เพียงพิมพ์เดียวจริงๆที่ตัดสินใจอยู่นานว่าจะเปิดให้ทำบุญกันหรือไม่ สุดท้ายนำออกให้บูชาเพียง ๔ องค์เท่านั้นครับ..

    ***เงื่อนไขของการบูชาพระร่วงเจ้าทั้ง ๓ องค์นี้ คือต้องอรรถาธิบายถึงมูลเหตุแรงจูงใจในการรู้สึกอยากจะขอบูชาพระร่วงเจ้าองค์นี้ก่อนนะครับ จึงจะสรุปว่าจะมอบให้ หรือไม่มอบให้...

    <!-- / message --><!-- sig -->มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔,๐๐๐ บาท

    D1->คุณตั้งจิต

    D2->คุณdragonlord

    D3->คุณศิษย์ต่างแดน

    D4->คุณnarin96
    <!-- / message --><!-- attachments -->



    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]





    </FIELDSET>เรื่องของพระร่วงเจ้ากัน ก็เป็นเรื่องที่คล้ายตำนาน แต่ก็อิงกับประวัติศาสตร์อยู่บ้างที่ล้นเกล้าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ ได้ทรงพระราชนิพนธ์เอาไว้ ในบทละครพูดคำกลอนเรื่อง "พ ร ะ ร่ ว ง" โดยได้ทรงตัดทอนส่วนที่เป็นปาฏิหาริย์ออก เป็นเรื่องราวของการปลุกใจความรักชาติไทย ซึ่งพระองค์ท่านได้ ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง"พ ร ะ ร่ ว ง" ซึ่งพระองค์ท่านได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นอีกสำนวนต่างจากบทละคร คือ


    ๑.เรื่องตำนานพระร่วง เป็นบทพระราชนิพนธ์ร้อยแก้ว แสดงถึงเหตุที่พระร่วงได้เป็นพระเจ้ากรุงสุโขทัย สมัยเมื่อจ.ศ.(จุลศักราช)ประมาณ ๖๐๐ ปี


    ๒.เรื่องขอมดำดิน เป็นพระราชนิพนธ์ ร้อยกรองประเภทบทกลอนสำหรับละครรำ


    ๓.บทละครร้องเรื่องพระร่วง ซึ่งทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗

    ผมขอมอบหนังสือบทละครพูดคำกลอนเรื่อง"พ ร ะ ร่ ว ง" ให้แก่ทุกท่านที่ได้รับพระพิมพ์พระร่วงเจ้านะครับ เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งใจ และรู้ที่มาที่ไปของพระราชนิพนธ์นี้ เป็นหนังสือที่พิมพ์ครั้งที่ ๑๑ ของคุรุสภา ราคาถูกมากเพียง ๒๐ บาท แต่คุณค่ามหาศาล และขอมอบพระคาถาพระร่วงวาจาสิทธิ์ ให้เป็นการส่วนตัว พร้อมวิธีการอาราธนาที่ถูกต้องซึ่งไม่ค่อยจะมีผู้เปิดเผยให้ทราบถึงวิธีการกัน

    ผมคิดว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีส่วนช่วยเหลือประเทศไทยนี้จากอริราชศัตรูทราบจิตเจตนาของทุกผู้คนคิดอย่างไร และเมื่อไหร่ท่านจึงจะสงเคราะห์ ผมมีความเชื่ออย่างเต็มเปี่ยมว่า หากท่านใดที่ได้อ่านบทพระราชนิพนธ์ของล้นเกล้าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ จะซาบซึ้ง และเกิดจิตที่ระลึกถึงผู้มีคุณทุกๆท่านที่มีต่อประเทศนี้..

    พระร่วงเจ้าหมายถึงผู้ใด...เป็นองค์สมมติที่ไม่มีตัวตนหรือ ก็ไม่ใช่ แต่หมายถึงพระมหากษัตริย์ทุกๆพระองค์ที่ปกครองสุโขทัย พระร่วง คนทั่วไปที่ไม่เข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับคำว่าร่วง อาจจะคิดว่า บูชาไปแล้ว จะร่วงหล่น หรือในทำนองไม่ดีทั้งหลาย แต่เปล่าเลย จากความที่ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธนได้ให้ความหมายไว้ว่า ในสมัยโบราณ จะใช้คำว่า"รุ้งรัง" ซึ่งรากเดิมคือ"รุ้งรัง" หมายถึง"รุ่งเรือง" ต่อมาเพี้ยนกันไปตามยุคสมัยจนมาเป็น"ร่วง" เช่นพระร่วงโรจนฤทธิ์เป็นต้น ส่วนคำว่า"วาจาสิทธิ์"นั้น หมายถึง การออกคำสั่งของกษัตริย์เป็นไปอย่างเด็ดขาด เปรียบเสมือน"วาจาสิทธิ์"นั่นเอง

    พระร่วงเจ้า ๓ องค์มีเจ้าของหมดแล้ว เผอิญท่านหนึ่งคือคุณ narin96 มีจิตศรัทธาสมทบทุนสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะพร้อมๆกันกับเพื่อนๆอีก ๓ ท่าน ซึ่งในเวลานั้น ผมเองยังไม่สามารถจะรวบรวมไว้ได้ครบว่าเกินจากที่นำออกให้บูชาหรือไม่ จึงมีความจำเป็นที่ต้องนำพระร่วงเจ้าองค์ที่เก็บรักษาไว้ส่วนตัวนี้ให้ร่วมสมทบปัจจัยด้วย เป็นรหัสพิเศษแล้วครับ ผมเชื่อว่าหากทุกท่านได้เข้าใจความหมาย และอิทธิคุณแห่งองค์พระร่วงเจ้าแล้ว การใช้พระคาถาพระร่วงวาจาสิทธิ์ พระคาถาถอนวาจาสิทธิ์ กอปรกับการถือกรรมบถ ๑๐ อย่างเคร่งครัด ความมหัศจรรย์แห่งการพูด การดำรงตนตั้งมั่นในศีล ในธรรม การดำเนินชีวิตจะเป็นไปด้วยการดูคล้ายความบังเอิญอย่างยิ่ง และ....อีกมากมาย...
    <!-- / message --><!-- attachments -->



    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG]


    </FIELDSET>
    ท่านที่ได้รับพระร่วงเจ้าทั้ง ๔ องค์นี้ ผมอยากเพิ่มธาตุศักดิ์สิทธิ์ให้อีกสิ่งหนึ่ง นั่นคือ "แร่ข้าวตอกพระร่วง" จำนวน ๔ องค์ จากเขาพระบาทใหญ่ ดินแดนต้นกำเนิดแห่งพระร่วงเจ้า จ.สุโขทัย จากบริเวณที่พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงสร้าง"รอยพระพุทธบาทจำลอง"ขึ้นที่นี่ และปัจจุบันได้อัญเชิญไปเก็บรักษาไว้ที่วัดตระพังทอง ภายในวัดได้มีการจำลอง"พระรูปพระร่วงเจ้ากวาดลานวัด" และเสก"ขอมดำดิน"กลายเป็นหินอยู่ ณ ที่นี้

    แร่ข้าวตอกพระร่วงที่ติดดินสีเหลืองทองนี้ ตามตำราว่า คือ"ดินสีอรุณ" เป็นดินที่เหมาะแก่การนำมาสร้างพระที่สุด และเมื่อกำหนดปฐวีกสิณให้น้อม...ใจจดจำ"ดินสีอรุณ"นี้ไว้เป็น"องค์กสิณ" จะได้ผลดีมาก เป็นหนึ่งในของดีของสุโขทัย ที่ปัจจุบันนี้เริ่มหายากขึ้นทุกทีแล้ว ขอให้นำเพียง ๑ องค์จาก ๔ องค์(จะมอบขนาดเหมาะสำหรับทำหัวแหวนให้ ๑ องค์ และขนาดบูชาที่หิ้งพระ ๓ องค์ หานำไปทำหัวแหวน ถือว่าจะใหญ่เกิน)ไปทำหัวแหวน เป็นรูปสี่เหลี่ยมนี้เลย ไม่ควรนำไปเจียเป็นทรงกลม ใช้อาราธนาติดตัวกับ"องค์พระร่วงเจ้า"

    ก็เป็นสิ่งที่อยากจะมอบให้ เพราะบางทีก็ไม่ได้เตรียมใจไว้ว่าจะอย่างไร แต่รู้สึกว่า ควรจะเพิ่มเติมตรงนี้ จุดนี้ให้ครบสมบูรณ์ขึ้น เป็นวาสนา บารมี ที่มีโอกาสนี้ครับ ผู้ที่ได้รับไปทั้ง ๔ ท่าน ให้ทำบุญถวายอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลนี้แด่พระองค์ท่านด้วยครับ โดยเฉพาะการชำระหนี้สงฆ์...

    สรุปผู้ที่บูชาพระร่วงเจ้านี้ทั้ง ๔ ท่านจะได้รับ
    ๑) พระร่วงเจ้า ๑ องค์ตามรหัสที่ตนเองได้เลือกไว้

    ๒) บทละครพูดคำกลอนเรื่อง "พ ร ะ ร่ ว ง" ที่ล้นเกล้าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ ได้ทรงพระราชนิพนธ์เอาไว้

    ๓) เคล็ดการใช้พระคาถาพระร่วงวาจาสิทธิ์ และพระคาถาถอนวาจาสิทธิ์ ให้ถือกรรมบถ ๑๐ อย่างเคร่งครัด

    ๔) แร่ข้าวตอกพระร่วง จำนวน ๔ องค์(จะมอบขนาดเหมาะสำหรับทำหัวแหวนให้ ๑ องค์ และขนาดบูชาที่หิ้งพระ ๓ องค์ หานำไปทำหัวแหวน ถือว่าจะใหญ่เกิน)

    ๕) พระสมเด็จองค์ปฐม ปางพระนิพพาน ๑ องค์ พร้อมใบแนบรายละเอียด

    ผมได้เดินทางไปกราบสักการะเมื่อราวเดือนที่แล้ว และได้ถ่ายเก็บภาพไว้ จึงขอนำภาพพระร่วงเจ้ามาให้ได้ชมกัน และทั้ง ๔ ท่านนี้ หากมีวาระ "ต้องตั้งใจ" ไปกราบสักการะตรงพระรูปนี้ให้ได้ เพื่อกราบขออาราธนาใช้พระคาถาเสก และถอนจากพระองค์ท่าน จึงจะถือว่าเป็นศิษย์ท่านโดยสมบูรณ์...
    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    </FIELDSET>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010018.jpg
      P1010018.jpg
      ขนาดไฟล์:
      141.8 KB
      เปิดดู:
      301
    • P1010019.jpg
      P1010019.jpg
      ขนาดไฟล์:
      130.6 KB
      เปิดดู:
      243
    • P1010020.jpg
      P1010020.jpg
      ขนาดไฟล์:
      138.2 KB
      เปิดดู:
      257
    • P1010021.jpg
      P1010021.jpg
      ขนาดไฟล์:
      147.9 KB
      เปิดดู:
      218
    • P1010022.jpg
      P1010022.jpg
      ขนาดไฟล์:
      160 KB
      เปิดดู:
      320
    • P1010023.jpg
      P1010023.jpg
      ขนาดไฟล์:
      154.6 KB
      เปิดดู:
      250
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มีนาคม 2008
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระแม่จามเทวีซุ้มเรือนแก้ว (พระลือโขง) พิมพ์เล็ก จำนวน ๗ องค์(เหลือ ๕ องค์)


    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒,๐๐๐ บาท

    E1->
    E2->
    E3->คุณชาญกิจ
    E4->
    E5->คุณSumanas
    E6->
    E7->


    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010140.jpg
      P1010140.jpg
      ขนาดไฟล์:
      199.9 KB
      เปิดดู:
      215
    • P1010141.jpg
      P1010141.jpg
      ขนาดไฟล์:
      183.7 KB
      เปิดดู:
      194
    • P1010142.jpg
      P1010142.jpg
      ขนาดไฟล์:
      197.4 KB
      เปิดดู:
      235
    • P1010143.jpg
      P1010143.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.7 KB
      เปิดดู:
      205
    • P1010144.jpg
      P1010144.jpg
      ขนาดไฟล์:
      197.4 KB
      เปิดดู:
      232
    • P1010145.jpg
      P1010145.jpg
      ขนาดไฟล์:
      207 KB
      เปิดดู:
      196
    • P1010146.jpg
      P1010146.jpg
      ขนาดไฟล์:
      217 KB
      เปิดดู:
      210
    • P1010147.jpg
      P1010147.jpg
      ขนาดไฟล์:
      192.2 KB
      เปิดดู:
      201
    • P1010148.jpg
      P1010148.jpg
      ขนาดไฟล์:
      202.6 KB
      เปิดดู:
      196
    • P1010149.jpg
      P1010149.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.1 KB
      เปิดดู:
      185
    • P1010150.jpg
      P1010150.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.5 KB
      เปิดดู:
      202
    • P1010151.jpg
      P1010151.jpg
      ขนาดไฟล์:
      191.9 KB
      เปิดดู:
      197
    • P1010152.jpg
      P1010152.jpg
      ขนาดไฟล์:
      200.3 KB
      เปิดดู:
      199
    • P1010153.jpg
      P1010153.jpg
      ขนาดไฟล์:
      203.3 KB
      เปิดดู:
      191
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 มิถุนายน 2008
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระแม่จามเทวีซุ้มเรือนแก้ว (พระลือโขง) พิมพ์ใหญ่ จำนวน ๗ องค์(เหลือ ๖ องค์)

    ภาพเปรียบเทียบกับเหรียญบาท และพิมพ์เล็ก หลายท่านสงสัยว่ามีขนาดใหญ่มากไหม...

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔,๐๐๐ บาท

    F1->
    F2->
    F3->
    F4->
    F5->
    F6->คุณkwok
    F7->

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7

    <!-- / message --><!-- attachments -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010124.jpg
      P1010124.jpg
      ขนาดไฟล์:
      231.9 KB
      เปิดดู:
      194
    • P1010139.jpg
      P1010139.jpg
      ขนาดไฟล์:
      242.6 KB
      เปิดดู:
      192
    • P1010125.jpg
      P1010125.jpg
      ขนาดไฟล์:
      242 KB
      เปิดดู:
      197
    • P1010126.jpg
      P1010126.jpg
      ขนาดไฟล์:
      235.4 KB
      เปิดดู:
      198
    • P1010127.jpg
      P1010127.jpg
      ขนาดไฟล์:
      235.2 KB
      เปิดดู:
      199
    • P1010128.jpg
      P1010128.jpg
      ขนาดไฟล์:
      180.2 KB
      เปิดดู:
      174
    • P1010129.jpg
      P1010129.jpg
      ขนาดไฟล์:
      214.4 KB
      เปิดดู:
      195
    • P1010130.jpg
      P1010130.jpg
      ขนาดไฟล์:
      221.8 KB
      เปิดดู:
      193
    • P1010131.jpg
      P1010131.jpg
      ขนาดไฟล์:
      222.5 KB
      เปิดดู:
      174
    • P1010132.jpg
      P1010132.jpg
      ขนาดไฟล์:
      236.2 KB
      เปิดดู:
      177
    • P1010133.jpg
      P1010133.jpg
      ขนาดไฟล์:
      219.5 KB
      เปิดดู:
      200
    • P1010134.jpg
      P1010134.jpg
      ขนาดไฟล์:
      208.6 KB
      เปิดดู:
      180
    • P1010135.jpg
      P1010135.jpg
      ขนาดไฟล์:
      205.2 KB
      เปิดดู:
      192
    • P1010136.jpg
      P1010136.jpg
      ขนาดไฟล์:
      228.7 KB
      เปิดดู:
      175
    • P1010137.jpg
      P1010137.jpg
      ขนาดไฟล์:
      221.5 KB
      เปิดดู:
      190
    • P1010138.jpg
      P1010138.jpg
      ขนาดไฟล์:
      224.4 KB
      เปิดดู:
      176
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2008
  16. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระลือหน้ามงคล จำนวน ๓ องค์ (เหลือ ๑ องค์)


    เป็นพิมพ์ที่หาได้ยากมากพิมพ์หนึ่งครับ

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔,๐๐๐ บาท

    G1->
    G2->คุณteerachaik
    G3->คุณkwok


    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010024.jpg
      P1010024.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.2 KB
      เปิดดู:
      221
    • P1010025.jpg
      P1010025.jpg
      ขนาดไฟล์:
      167.2 KB
      เปิดดู:
      187
    • P1010026.jpg
      P1010026.jpg
      ขนาดไฟล์:
      167.5 KB
      เปิดดู:
      200
    • P1010027.jpg
      P1010027.jpg
      ขนาดไฟล์:
      154.7 KB
      เปิดดู:
      173
    • P1010028.jpg
      P1010028.jpg
      ขนาดไฟล์:
      193.1 KB
      เปิดดู:
      203
    • P1010029.jpg
      P1010029.jpg
      ขนาดไฟล์:
      188.4 KB
      เปิดดู:
      171
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 มิถุนายน 2008
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระลือหน้ายักษ์ พิมพ์เล็ก จำนวน ๒ องค์


    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒,๐๐๐ บาท

    H1->
    H2->

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7

    <!-- / message --><!-- attachments --><!-- / message --><!-- attachments -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010030.jpg
      P1010030.jpg
      ขนาดไฟล์:
      198 KB
      เปิดดู:
      206
    • P1010031.jpg
      P1010031.jpg
      ขนาดไฟล์:
      201.9 KB
      เปิดดู:
      177
    • P1010032.jpg
      P1010032.jpg
      ขนาดไฟล์:
      214 KB
      เปิดดู:
      191
    • P1010033.jpg
      P1010033.jpg
      ขนาดไฟล์:
      187.3 KB
      เปิดดู:
      193
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 มีนาคม 2008
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระลือหน้ายักษ์ พิมพ์ใหญ๋ จำนวน ๕ องค์(เหลือ ๔ องค์)

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๔,๐๐๐ บาท

    I1->
    I2->
    I3->
    I4->คุณkwok
    I5->


    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7

    <!-- / message --><!-- attachments --><!-- / message --><!-- attachments -->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010114.jpg
      P1010114.jpg
      ขนาดไฟล์:
      218.4 KB
      เปิดดู:
      196
    • P1010115.jpg
      P1010115.jpg
      ขนาดไฟล์:
      247.3 KB
      เปิดดู:
      179
    • P1010116.jpg
      P1010116.jpg
      ขนาดไฟล์:
      228.3 KB
      เปิดดู:
      193
    • P1010117.jpg
      P1010117.jpg
      ขนาดไฟล์:
      249 KB
      เปิดดู:
      171
    • P1010118.jpg
      P1010118.jpg
      ขนาดไฟล์:
      219.4 KB
      เปิดดู:
      174
    • P1010119.jpg
      P1010119.jpg
      ขนาดไฟล์:
      229.2 KB
      เปิดดู:
      167
    • P1010120.jpg
      P1010120.jpg
      ขนาดไฟล์:
      206.6 KB
      เปิดดู:
      190
    • P1010121.jpg
      P1010121.jpg
      ขนาดไฟล์:
      241 KB
      เปิดดู:
      187
    • P1010122.jpg
      P1010122.jpg
      ขนาดไฟล์:
      215.8 KB
      เปิดดู:
      177
    • P1010123.jpg
      P1010123.jpg
      ขนาดไฟล์:
      202.6 KB
      เปิดดู:
      164
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2008
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พระรอดลำพูน พิมพ์เล็ก จำนวน ๑๓ องค์ องค์ที่ ๑-๗ (เหลือ ๑๑ องค์)

    ไม่ใช่กรุมหาวันที่เลื่องชื่อ เป็นพิมพ์ที่ผมชอบมากพอๆกับพระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์(พระเลี่ยง) พิมพ์ฐานบัวเหลี่ยม ที่มีรูปทรงคล้ายคลึงกันกับสมเด็จองค์ปฐมลอยองค์ รุ่น ๑-๓ วัดท่าซุง รายละเอียดที่จะคุยกันเกี่ยวกับพระรอดนี้จะคุยกันในโอกาสต่อไปครับ

    พระรอดลำพูนมีอิทธิคุณด้านคงกระพันชาตรี และแคล้วคลาด

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒,๐๐๐ บาท

    J1->
    J2->คุณkanpirom
    J3->
    J4->
    J5->คุณSumanas
    J6->
    J7->

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010001.jpg
      P1010001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      111.2 KB
      เปิดดู:
      202
    • P1010002.jpg
      P1010002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      109.3 KB
      เปิดดู:
      177
    • P1010003.jpg
      P1010003.jpg
      ขนาดไฟล์:
      370.5 KB
      เปิดดู:
      190
    • P1010004.jpg
      P1010004.jpg
      ขนาดไฟล์:
      401.8 KB
      เปิดดู:
      179
    • P1010005.jpg
      P1010005.jpg
      ขนาดไฟล์:
      384.2 KB
      เปิดดู:
      195
    • P1010006.jpg
      P1010006.jpg
      ขนาดไฟล์:
      421.5 KB
      เปิดดู:
      184
    • P1010007.jpg
      P1010007.jpg
      ขนาดไฟล์:
      319 KB
      เปิดดู:
      192
    • P1010008.jpg
      P1010008.jpg
      ขนาดไฟล์:
      374.3 KB
      เปิดดู:
      169
    • P1010009.jpg
      P1010009.jpg
      ขนาดไฟล์:
      391 KB
      เปิดดู:
      192
    • P1010010.jpg
      P1010010.jpg
      ขนาดไฟล์:
      385 KB
      เปิดดู:
      180
    • P1010011.jpg
      P1010011.jpg
      ขนาดไฟล์:
      414.3 KB
      เปิดดู:
      178
    • P1010012.jpg
      P1010012.jpg
      ขนาดไฟล์:
      436.4 KB
      เปิดดู:
      161
    • P1010013.jpg
      P1010013.jpg
      ขนาดไฟล์:
      400.9 KB
      เปิดดู:
      178
    • P1010014.jpg
      P1010014.jpg
      ขนาดไฟล์:
      421 KB
      เปิดดู:
      167
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 เมษายน 2010
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    (ต่อ)พระรอดลำพูน พิมพ์เล็ก จำนวน ๑๓ องค์ องค์ที่ ๘-๑๓

    ไม่ใช่กรุมหาวันที่เลื่องชื่อ เป็นพิมพ์ที่ผมชอบมากพอๆกับพระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์(พระเลี่ยง) พิมพ์ฐานบัวเหลี่ยม ที่มีรูปทรงคล้ายคลึงกันกับสมเด็จองค์ปฐมลอยองค์ รุ่น ๑-๓ วัดท่าซุง รายละเอียดที่จะคุยกันเกี่ยวกับพระรอดนี้จะคุยกันในโอกาสต่อไปครับ

    มอบให้ ๑ องค์ เมื่อร่วมบุญ ๒,๐๐๐ บาท

    J8 ->
    J9 ->
    J10->
    J11->
    J12->
    J13->

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010015.jpg
      P1010015.jpg
      ขนาดไฟล์:
      384.4 KB
      เปิดดู:
      188
    • P1010016.jpg
      P1010016.jpg
      ขนาดไฟล์:
      385.2 KB
      เปิดดู:
      163
    • P1010017.jpg
      P1010017.jpg
      ขนาดไฟล์:
      359.9 KB
      เปิดดู:
      189
    • P1010018.jpg
      P1010018.jpg
      ขนาดไฟล์:
      371.6 KB
      เปิดดู:
      163
    • P1010019.jpg
      P1010019.jpg
      ขนาดไฟล์:
      356.8 KB
      เปิดดู:
      176
    • P1010020.jpg
      P1010020.jpg
      ขนาดไฟล์:
      432.5 KB
      เปิดดู:
      176
    • P1010021.jpg
      P1010021.jpg
      ขนาดไฟล์:
      473.2 KB
      เปิดดู:
      164
    • P1010022.jpg
      P1010022.jpg
      ขนาดไฟล์:
      423.4 KB
      เปิดดู:
      173
    • P1010023.jpg
      P1010023.jpg
      ขนาดไฟล์:
      427.2 KB
      เปิดดู:
      159
    • P1010024.jpg
      P1010024.jpg
      ขนาดไฟล์:
      405.9 KB
      เปิดดู:
      164
    • P1010025.jpg
      P1010025.jpg
      ขนาดไฟล์:
      476.6 KB
      เปิดดู:
      170
    • P1010026.jpg
      P1010026.jpg
      ขนาดไฟล์:
      394.1 KB
      เปิดดู:
      150
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 เมษายน 2010

แชร์หน้านี้

Loading...