ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
  2. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ฝากไว้เป็นที่ระลึก ภาพจาก 108 พระเกจิดอทคอม

    อัลบั้มภาพ
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=5 rowSpan=93>









    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>

    หลวงพ่อทองเบิ้ม วัดวังยาว
    จ.ประจวบคีรีขันธ์

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อพัฒน์ วัดแสนเกษม
    จ.กรุงเทพมหานคร </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>

    หลวงพ่อสง่า วัดใหม่เจริญราษฏร์
    จ.กรุงเทพมหานคร

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อเจริญ วัดทรงธรรม
    จ.สมุทรปราการ </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>

    หลวงพ่อทองอยู่ วัดคลองเขื่อน
    จ.ฉะเชิงเทรา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่แร่ วัดเชิดสำราญ
    จ.ชลบุรี ​
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อบุญไท วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
    จ.ปทุมธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    ปู่หลวงช่วง วัดไตรธรรมาราม
    จ.สุราษฎร์ธานี ​
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    [​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>

    หลวงพ่อทองอยู่ วัดเทพประสิทธิ์คณาวาส
    จ.สมุทรสงคราม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่แคล้้ว วัดมหาชัยคล้ายนิมิตร
    จ.สมุทรสาคร ​
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อสละ วัดไก่เตี้ย
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ครูบาคำปัน วัดนาแส่ง
    จ.ลำปาง </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อทวน วัดหนองพังตรุ
    จ.กาญจนบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อไสย วัดคานหาม
    จ.อยุธยา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อเชื่อม วัดพระนอน
    จ.นครสวรรค์

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่บ๊ก วัดเนินพยอม
    จ.อุทัยธานี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อพาน วัดโป่งกะสังข์
    จ.ประจวบคีรีขันธ์

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อเล็ก วัดลาดหอย
    จ.สุพรรณบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อบุญรอด วัดลาดเมธังกร
    จ.ราชบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ฉาบ วัดคลองจันทร์
    จ.ชัยนาท </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่จุน วัดขุมแก้ว
    จ.ปทุมธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อกัณหา วัดหนองม่วงใหม่
    จ.ชลบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อซ้ง วัดเสาธงกลาง
    จ.สมุทรปราการ

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อจ่าง วัดเขื่อนเพชร
    จ.เพชรบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อไสว วัดมณีสรรค์
    จ.สมุทรสงคราม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม
    จ.นครปฐม </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อปุ่น วัดเขาบางทราย
    จ.ชลบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อกร่าง วัดตองปุ
    จ.ลพบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่ออ่อน วัดเขียน
    จ.อ่างทอง

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่สด วัดห้วยชินสีห์
    จ .ราชบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ปู่หลวงเริ่ม วัดบางน้ำจืืด
    จ.สุราษฎร์ธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อแปลก วัดลำน้ำ
    จ.ราชบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]
    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อต่วน วัดตะวันเย็น
    จ.ลพบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่อำภา วัดศาลาแดง
    จ.ปทุมธานี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ชื้น วัดญาณเสน
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เชย วัดบางคล้้า
    จ.อยุธยา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อมหาโพธิ์ วัดคลองมอญ
    จ.ชัยนาท

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ธรรมรังสี วัดพระบาทเขาพนมดิน
    จ.สุรินทร์ </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ปู่หลวงฟุ้ง วัดปราการ
    จ.สุราษฏร์ธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่หรุ่ม วัดบางจักร
    จ.อ่างทอง </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อตั๋ง วัดโพธิ์เอน
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อวงศ์ วัดวังสาริกา
    จ.อุทัยธานี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อนนท์ วัดเหนือวน
    จ.ราชบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ชื่น วัดเขาไกรลาศ
    จ.ประจวบคีรีขันธ์ </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่ออุ่น วัดสาลีโข ฯ
    จ.นนทบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลงวปู่ตัน วัดดอนตูม
    จ.ราชบุรี</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ
    จ.นครปฐม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ครูบาอินตา วัดวังทอง
    จ.ลำพูน </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่แก้ว วัดหนองพะวา
    จ.ระยอง

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ชม วัดนางในฯ
    จ.อ่างทอง </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อเทิ้ม วัดฉาง
    จ.ปทุมธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านเพีียน วัดท่าม่วง
    จ.พัทลุง</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ฮวด วัดดอนโพธิ์ทอง
    จ.สุพรรณบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อเจิม วัดวันยาวล่าง
    จ.จันทบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านเรียง วัดบ่อหว้า
    จ.สงขลา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อผิน วัดเกาะแก้วนครสวรรค์
    จ.ชลบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อปลื้ม วัดสวนหงส์
    จ.สุพรรณบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เจ๊ก วัดระนาม
    จ.สิงห์บุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านแสง วัดถ้ำพระพุทธโกษีย์
    จ.ตรัง

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านฉ้ง วัดหัวเตย
    จ.พัทลุง </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ท่านพ่อสีนวล วัดเกวียนหัก
    จ.จันทบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านบุญ วัดคลองแห
    จ.สงขลา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านเคล้า วัดควนโส
    จ.สงขลา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านแปลง วัดควนลัง
    จ.สงขลา</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านร่วง วัดศาลาโพธิ์
    จ.สงขลา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ท่านพ่อคร่ำ วัดวังหว้า
    จ.ระยอง </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านเรือง วัดประตูไชย
    จ.สงขลา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่สด วัดโพธิ์แตงใต้
    จ.อยุธยา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อบุตร วัดหนองเขื่อนช้าง
    จ.สระบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เผื่อน วัดโคกกุ่ม
    จ.สระบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ชม วัดโป่ง
    จ.ชลบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลงวพ่อจวน วัดสาวชะโงก
    จ.ฉะเชิงเทรา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่มี วัดพลับ
    จ.นครราชสีมา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อแม้น วัดพิชิต
    จ.ปทุมธานี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อรักษ์ วัดน้อยแสงจันทร์
    จ.สมุทรสงคราม </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาอินเพชร วัดป่าเหมือด
    จ.เชียงใหม่

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อโฉม วัดธรรมจริยาภิรมย ์
    จ.สมุทรสาคร </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านเรือง วัดบ่อกรูด
    จ.นครศรีธรรมราช

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่กลิ่น วัดบางปรือ
    จ.ตราด </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาก๋อง วัดบวกครกใต้
    จ.เชียงใหม่

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่หนู วัดวังศาลา
    จ.กาญจนบุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ตี๋ วัดหลวงราชาวาส
    จ.อุทัยธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เขียน วัดบ่อเงิน
    จ.ปทุมธานี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู๋อู๋ วัดสุขใจ
    จ.กรุงเทพมหานคร

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม
    จ.นครปฐม </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่แสง วัดหนองเขวา
    จ.นครราชสีมา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อสง่า วัดหนองม่วง
    จ.ราชบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ชอบ วัดเขารังเสือ
    จ.ราชบุรี

    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อเกิด วัดบางขุนไทร
    จ.เพชรบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ปรง วัดธรรมเจดีย์
    จ.สิงห์บุรี </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่เย็น วัดดอนสีนนท์
    จ.ฉะเชิงเทรา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ทิม วัดพระขาว
    จ.อยุธยา </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อลำเจียก วัดศาลาตึก
    จ.นครปฐม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อสังคม วัดพระนอน
    จ.เพชรบุรี

    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านเพชรแก้ว วัดรังสิตาวาส
    จ.ยะลา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อวัน วัดคงคา
    จ.นนทบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง
    จ.เชียงใหม่

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อฟ้อน วัดป่างิ้ว
    จ.ปทุมธานี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ชั้น วัดแคอรัญญิก
    จ. อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เย็น วัดสระเปรียญ
    จ.ชัยนาท
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ญาท่านสวน วัดนาอุดม
    จ.อุบลราชธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อสมภพ อุทยานธรรมโกศล
    จ.ปทุมธานี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อกวย วัดโฆษิตาราม
    จ.ชัยนาท

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส
    จ.จันทบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ดู่ วัดสะแก
    จ.อยุธยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อจ้อย วัดศรีอุทุมพร
    จ.นครสวรรค์
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่เนื่อง วัดจุฬามณี
    จ.สมุทรสงคราม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย
    จ.นครพนม
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่บุดดา วัดกลางชูศรีเจริญ
    จ.สิงห์บุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เขียว วัดหรงบน
    จ.นครศรีธรรมราช
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อตัด วัดชายนา
    จ.เพชรบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อช่วง วัดโป่งตามุข
    จ.ชลบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
    จ.ศรีสะเกษ


    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อแฟ้ม วัดอรัญญิกาวาส
    จ.ชลบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อปี่ วัดโคกท่าเจริญ
    จ.ชลบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่เริ่ม วัดจุกเฌอ
    จ.ชลบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อลั้ง วัดอัมพาราม
    จ.ชลบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อสีหมอก วัดเขาวังตะโก
    จ.ชลบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่จันทร์ วัดป่าข่อย
    จ.สุโขทัย

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ครูบาพรหม วัดพระพุทธบาทตากผ้า
    จ.ลำพูน
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อโทน วัดเขาน้อยคีรีวัน
    จ.ชลบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านขอม วัดปากเชียร
    จ.นครศรีธรรมราช
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านหีต วัดเผียน
    จ.นครศรีธรรมราช

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่สาย วัดดอนกระต่ายทอง
    จ.อ่างทอง
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม
    จ.นครปฐม

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อทรง วัดศาลาดิน
    จ.อ่างทอง
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านจง วัดหน้าพระบรมธาตุ
    จ.นครศรีธรรมราช

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่สุภา วัดสีลสุภาราม
    จ.ภูเก็ต
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านทอง วัดสำเภาเชย
    จ.ปัตตานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านบุญมาก วัดท่าเสม็ด
    จ.นครศรีธรรมราช
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ถม วัดเชิงท่า
    จ.ลพบุรี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ครูบาวงศ์ วัดพระบาทห้วยต้ม
    จ.ลำพูน
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    พ่อท่านกลั่น วัดเขาอ้อ
    จ.พัทลุง

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงพ่อสังวาลย์ วัดทุ่งสามัคคีธรรม
    จ.สุพรรณบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>พ่อท่านวัน วัดเสาธงทอง
    จ.นครศรีธรรมราช
    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาคำมูล วัดทาศรีมงคล
    จ.ลำพูน

    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาคำอ้าย วัดบุญเรือง
    จ.พะเยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>ครูบาชุ่ม วัดวังมุ่ย
    จ.ลำพูน
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    ครูบาดวงแสง วัดพระธาตุดอยเวา
    จ.เชียงราย

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่บุญมี วัดศิลามงคล
    จ.เชียงใหม่
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ชม วัดท่าทราย
    จ.นครนายก

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ช้าง วัดใหม่เสมาคมโพธิ์ทอง
    จ.นครราชสีมา
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่รัช วัดโกศาวาส
    จ.สุราษฏร์ธานี

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>หลวงปู่ผูก วัดดอนหว้า
    จ.เพชรบุรี
    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อโอน วัดโคกเดื่อ
    จ.นครสวรรค์

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงพ่อผินะ วัดสนมลาว
    จ.สระบุรี

    </TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ผาย วัดพระธาตุจอมไคร้
    จ.พะเยา

    </TD><TD class=style96 align=middle width=5> </TD><TD class=style96 align=middle width=320>
    หลวงปู่ขันแก้ว วัดสันพระเจ้าแดง
    จ.ลำพูน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. ไชยชุมพล

    ไชยชุมพล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    246
    ค่าพลัง:
    +1,873
    เมื่อวานนี้ (วันที่ 7 ต.ค. เวลาประมาณ 9.15 น.) คุณแม่ได้โอนเงินร่วมทำบุญกับทุนนิธิฯ ประจำเดือนนี้จำนวน 500 บาทครับ อนุโมทนากับทุกท่านด้วยครับ
     
  4. homo

    homo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    547
    ค่าพลัง:
    +2,594
    โอนเงินร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ จำนวน 101 บาท

    วันที่ 7/10/2552 เวลา 17:15 น. Location S1B1775

    ขออนุโมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านที่ร่วมทำบุญด้วยครับ สาธุ...
     
  5. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    แม้จะคนละศาสนาก็มองเห็นชีวิตว่ามีจุดสุดท้ายเหมือนกัน...มิพ้นสัจจะธรรมจริง ๆ
    [​IMG]

    กฏของการเป็นมนุษย์

    เชรี คาร์เตอร์ สก็อต (เขียน)
    จากหนังสือ "พลังแห่งชีวิต"

    1. คุณจะได้รับร่างกาย .คุณอาจจะชอบหรือเกลียดมัน .
    มันจะอยู่กับคุณไปต่อจากนี้ไปตลอดชีวิต

    2. คุณจะได้เรียนรู้บทเรียน . คุณได้ลงชื่อสมัครเรียนเต็มเวลา .
    ในโรงเรียนที่ไม่มีแบบแผน ชื่อว่า "โรงเรียนชีวิต" ทุกๆ วันในโรงเรียน
    แห่งนี้คุณอาจจะชอบ . หรืออาจคิดว่ามันไร้สาระหรือโง่เง่า

    3. ไม่มีความผิด มีแต่บทเรียน . กระบวนการในการเติบโต .
    คือ . การลองผิดลองถูก การทดลอง การทดลองที่ "ล้มเหลว"
    ถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่มีความสำคัญมากพอๆ กับการ
    ทดลองที่"ได้ผล" อย่างสมบูรณ์

    4. บทเรียนซ้ำแล้วซ้ำเล่าจนกว่าจะเรียนรู้ .คุณจะได้รับ
    บทเรียนหลายๆ รูปแบบจนกว่าคุณจะได้ เรียนรู้มัน . เมื่อคุณเรียนรู้
    แล้วคุณจะได้ศึกษาบทเรียนอื่นๆ ต่อไป

    5. การเรียนรู้ไม่มีวันจบ .ชีวิตคุณจะเต็มไปด้วยบทเรียน
    ถ้าคุณยังมีชีวิตอยู่จะต้องมีบทเรียนให้เรียนรู้

    6. "ที่นั่น" ไม่ได้ดีกว่า "ที่นี่" .เมื่อ"ที่นั่น"ของคุณกลาย
    เป็น"ที่นี่" .คุณก็จะมาถึง"ที่นั่น"อีกแห่งหนึ่งที่ดูดีกว่า"ที่นี่"ไปเรื่อยๆ

    7. คนอื่นคือกระจกส่องตัวคุณ .คุณไม่สามารถรักหรือ
    เกลียดบางอย่างเกี่ยวกับผู้อื่น . ถ้ามันไม่ได้สะท้อนบางอย่างที่
    คุณรักหรือเกลียดเกี่ยวกับตัวคุณ

    8. ชีวิตคุณขึ้นอยู่กับตัวคุณเอง .คุณมีเครื่องมือทุกชนิด
    และทรัพยากรทุกอย่างที่คุณต้องการ .คุณจะเลือกใช้มันอย่างไร
    ขึ้นอยู่กับตัวคุณ .... คุณเป็นคนเลือก

    9. คำตอบอยู่ในตัวคุณเอง . คำตอบเกี่ยวกับชีวิตมีอยู่
    ในตัวคุณเอง . สิ่งเดียวที่คุณควรทำคือ มอง ฟังและไว้วางใจ

    10. คุณจะลืมกฏทั้งหมดนี้ .....
    .....................................................


    FW.Mail
     
  6. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    คนยากไร้กับหนูตาย
    ท่านจุลลกเศรษฐี ในเมืองพาราณสี เป็นผู้ฉลาดเฉียบแหลมเป็นบัณฑิตที่รู้จักปรากฏการณ์ต่าง ๆ วันหนึ่งจุลลกเศรษฐีไปเฝ้าพระราชา ระหว่างทางเห็นหนูตายตัวหนึ่ง เขามองดูท้องฟ้าแล้วกล่าวว่า บุคคลผู้มีปัญหา อาจเอาหนูตายตัวนี้ไปเป็นทุนเลี้ยงลูกเมียได้
    ชายผู้ยากไร้คนหนึ่งชื่อ จูฬันเตวาสิก ได้ยินท่านเศรษฐีพูดเช่นนั้น ก็คิดว่า ท่านเศรษฐีไม่รู้จริงคงไม่พูด จึงเอาหนูตายตัวนั้นไปขายคนเลี้ยงแมวได้ทรัพย์มากากนิกหนึ่ง (กากนิก เป็นมาตราเงินอินเดียในสมัยนั้นที่มีค่าน้อยที่สุด เทียบมาตราเงินไทย 1 สตางค์)
    จากนั้นก็นำทรัพย์หนึ่งกากนิกนั้นไปซื้อน้ำอ้อยงบ (น้ำอ้อยที่เคี่ยวแล้วทำเป็นแผ่นสะดวกกับการพกพา) แล้วเอาหม้อใบหนึ่งตักน้ำ ไปยืนคอยพวกช่างดอกไม้กลับจากป้า ให้ชิ้นน้ำอ้อยและให้ดื่มน้ำคนละกระบวย พวกช่างดอกไม้ก็ให้ดอกไม้คนละกำมือแก่เขา
    จูฬันเตวาสิกเอาดอกไม้ไปขายได้เงินกลับมามากขึ้น ก็นำเงินนั้นไปซื้อน้ำอ้อยงบและไปยืนคอยพวกช่างดอกไม้เช่นเดิม ทำเช่นนี้จนเขามีเงินถึง 8 กหาปณะ (4 บาทเท่ากับ 1 กหาปณะ)
    วันหนึ่ง ฝนตก พายุหนัก กิ่งไม้แห้งบ้างสดบ้างถูกพายุพัดลงมาเป็นอันมากในพระราชอุทยาน คนเฝ้าอุทยานไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรดี จูฬันเตวาสิกจึงรีบไปบอกคนเฝ้าว่า ถ้าจะให้ใบไม้กิ่งไม้เหล่านั้นแก่เขา เขาจะขนออกไปให้หมด คนเฝ้าสวนดีใจรีบบอกให้เขามาขนไปในทันที
    ด้วยความดีใจ จูฬันเตวาสิกรีบกลับไปที่สนามเด็กเล่น ให้น้ำอ้อยแก่เด็ก ๆ แล้วขอแรงให้ช่วยขนกิ่งไม้จนหมดภายในเวลาไม่นาน กิ่งไม้จำนวนมากกองอยู่ที่หน้าประตูพระราชอุทยาน ก็พอดีกับช่างหม้อหลวงที่มาเที่ยวหาฟืน เพื่อเผาภาชนะดินของหลวงพบเข้า จึงขอซื้อกิ่งไม้เหล่านั้น
    จากการขายไม้ ชายยากจนอย่างจูฬันเตวาสิกมีทรัพย์เพิ่มขึ้นเป็น 16 กหาปณะแล้ว เมื่อมีทรัพย์มากขึ้น เขาจึงคิดอะไรได้อย่างหนึ่ง ด้วยการตั้งตุ่มน้ำไว้ไม่ไกลจากประตูเมือง เพื่อให้บริการคนหาบหญ้า 500 คน เหล่านคนหาบหญ้าพอใจในบริการที่มีน้ำใจของเขา จึงเอ่ยปากว่า หากต้องการให้พวกตนช่วยอะไร ขอให้บอกได้เลย
    นอกจากคนหาบหญ้าแล้ว จูฬันเตวาสิกยังได้ผูกมิตรกับคนมากหน้าหลายตา ทำให้เขามีเพื่อนมากมาย วันหนึ่ง เพื่อนดีคนหนึ่งก็มาบอกข่าวแก่เขาว่า พรุ่งนี้จะมีพ่อค้าม้านำม้า 500 ตัวมายังนครแห่งนี้ จูฬันเตวาสิกจึงไปพบคนหาบหญ้า และขอซื้อหญ้าเตรียมเอาไว้
    วันรุ่งขึ้น พ่อค้าม้านำม้า 500 ตัวมาถึง ! ก็พบว่าม ีเพียงจูฬันเตวาสิกที่มีหญ้าขาย เขาได้กำไรจากการขายหญ้าในครั้งนี้ 1,000 กหาปณะ
    โอกาสต่อมา ก็มีเพื่อนมาแจ้งข่าวแก่เขาว่า มีพ่อค้านำเรือสำเภาขนาดใหญ่มาจอดเทียบท่า จูฬันเตวาสิกไม่รอช้า รีบไปขอเหมาสินค้าทั้งลำเรือเอาไว้ เมื่อพ่อค้ารายอื่นมาถึงจึงต้องมาซื้อสินค้าจากเขา สุดท้ายเขาได้ทรัพย์มาเป็นจำนวนถึง 200,000 กหาปณะ
    เมื่อได้ทรัพย์เป็นจำนวนมากเช่นนี้ เขาก็เกิดความคิดว่า "เราควรเป็นคนกตัญญู นำทรัพย์ที่ได้ไปตอบแทนท่านเศรษฐี"
    เร็วเท่าใจคิด จูฬันเตวาสิกถือทรัพย์ 100,000 กหาปณะไปมอบให้เศรษฐีเพื่อเป็นการตอบแทน พอท่านเศรษฐีทราบเรื่องทั้งหมด เห็นในสติปัญญา และความเฉลียวฉลาด จึงยกลูกสาวให้แต่งงานด้วย และเมื่อเศรษฐีล่วงลับไปแล้ว จูฬันเตวาสิกก็ได้เป็นเศรษฐีแห่งเมืองนั้นสืบต่อมา
    นิทานเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า การเชื่อฟังท่านผู้รู้ ไม่ดูเบาต่อคำสั่งสอน พยายามปฏิบัติตาม และทำอย่างมีปัญญา ใคร่ครวญพิจารณาให้ดี มีความคิดรอบคอบ และเมื่อได้ทรัพย์มาแล้วก็ระลึกถึงผู้มีพระคุณ บุคคลผู้มีคุณสมบัติเช่นนี้ ย่อมไม่ตกต่ำ มีแต่จะตั้งตนได้และเจริญรุ่งเรือง ความรู้ ความประพฤติ และการงานที่ดีย่อมเป็นที่พึ่งพิงของบุคคลได้ดีกว่าสิ่งอื่น ดังภาษิตที่ว่า "ไม่มีมิตรใดเสมอได้ด้วยวิชชา"
    ชะตากรรมเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหยั่งถึงได้ แต่ความเพียรพยายามเป็นสิ่งที่เรารู้ได้และอยู่ในอำนาจของเรา การทำความเพียรให้เป็นหน้าที่ของเรา การให้ผลเป็นหน้าที่ของกรรม
    เมื่อหวังความสำเร็จผล ก็ต้องรู้จักรอคอย และควรคอยอย่างสงบ ไม่ใช่กระวนกระวายใจ อะไรที่ควรได้ ย่อมได้มาเองโดยผลแห่งกรรม หรือความเพียรชอบนั้นแล
     
  7. ชิน9

    ชิน9 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +247
    สวัสดีครับทุกท่าน ผมได้โอนเงินบริจาคจำนวน 2,000.-บาท

    13/10/2009 09 .21 น.โอนผ่าน TMB internet banking


    ด้วยบุญอุทิศนี้ให้อาม่า,ป๋า,แม่,อาโกว,ชิน9,น้องๆ,หลานๆ,เพื่อนๆ,บริวาร,ผู้มีพระคุณ,ครู,อาจารย์,คนไทยทุกคน,ลูกค้าทุกคน,ผู้เช่าบ้านและร้านของชิน9

    ขอเชิญเพื่อนๆมาร่วมอนุโมทนาบุญด้วยกันนะครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105

    หลังจากที่ไม่ได้เข้ามาในกระทู้หลายวันเนื่องมาจากสาเหตุทางเทคนิคต่างๆ วันนี้ช่วงเช้าเลยขอมา up-date กระทู้สักหน่อยในเรื่องของการบริจาคเครื่องดูดเสมหะให้หลวงปู่โสก่อนครับ เดี๋ยวช่วงบ่ายๆ เย็นๆ จะเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง

    ตามภาพข้างล่างเป็นภาพที่ทาง รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น ส่งมาให้พวกเราได้โมทนาบุญกันครับ ซึ่งนอกจากเครื่องดูดเสมหะแล้ว ได้ทราบจากทางคุณวรารัตน์ จนท.พยาบาลของหอสงฆ์ฯ ว่า หลวงปู่โส ท่านไม่สามารถฉันภัตตาหารทางปากได้ตามปกติ คือท่านมีปัญหาทางด้านหลอดลม วิธีการฉันภัตตาหารของท่าน ต้องใช้เครื่องดันภัตตาหารค่อยๆ ดันเข้าไปทีละน้อย แต่เนื่องจากทาง รพ.มีเครื่องจำกัด ไม่สามารถให้หลวงปู่ยืมใช้ได้ตลอดไป เพราะอาจจะมีพระรูปอื่นที่ต้องใช้วิธีการเดียวกันรักษาอยู่อีก จึงขอความกรุณามายังทุนนิธิฯ ให้ช่วยบอกบุญหรือบริจาคให้ด้วย คณะกรรมการฯ จึงได้ร่วมประชุมกันในสัปดาห์ที่แล้ว และมีมติที่จะมอบเครื่องดันภัตตาหารนี้ให้แก่ หอสงฆ์อาพาธ ที่ รพ.ศรีนครินทร์ จำนวน 1 เครื่อง ราคาเครื่องละ 33,300.-บาท (ปกติเครื่องนี้ทาง รพ.ซื้อเองราวๆ เกือบ 5 หมื่นบาทแต่เราซื้อเพื่อบริจาค ทางบริษัทผู้ขายเลยทำส่วนลดพิเศษให้ครับ) แล้วให้หอสงฆ์อาพาธฯ ให้ วัดป่าคำแคนเหนือยืมใช้งาน ซึ่งในวันข้างหน้า เครื่องนี้ก็ยังหมุนกลับมาใช้ยังหอสงฆ์เพื่อใช้สำหรับรักษาสงฆ์อาพาธรูปอื่นๆได้อีก และด้วยความยินดีเช่นเดียวกัน คุณเพชร สมาชิกประจำของทุนนิธิฯ ก็เลยบริจาคส่วนตัวมา 5,000.- เพื่อขอมีส่วนในเครื่องนี้ด้วย ดังนั้นสำหรับเครื่องนี้ จึงใช้เงินจากทุนนิธิฯ บริจาคเพิ่มเติมให้หลวงปู่โส 28,300.- ครับ ส่วนใครจะทำบุญเพิ่มเติม ก็ต้องใช้วิธีอธิษฐานบุญให้หลวงปู่รับรู้ แล้วโอนเงินเข้าบัญชีทุนนิธิฯ ตามปกติก็ถือว่าใช้ได้ครับ เพราะฐานบุญใหญ่ ก็มาจากจิตที่ตั้งมั่นในการบริจาค ถ้าจะพูดให้ง่ายก็คือ "จิตเป็นใหญ่ จิตเป็นประธาน" นั่นเองครับ เอ้าใครอยากช่วยพระที่ได้ชื่อว่า "สำเร็จกิจทางศาสนาแล้ว" เชิญได้เลยครับ มาช่วยกันซื้อเครื่องช่วยดันภัตตาหารให้ท่านกัน นับว่าเป็นการต่ออายุท่านด้วยไปในตัว ให้ชีวิตสัตวธรรมดายังได้บุญเยอะ นี่ต่อชีวิตให้ "พระอรหันต์" เชียวนา จะบอกให้บุญเท่าไรไม่ต้องไปคิดครับ...เพราะยากที่จะประมาณ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ตุลาคม 2009
  9. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840



    รอบนี้ทางทุนนิธิได้ร่วมบุญกับพระอรหันต์ถือว่าเป็นบุญอย่างล้นเหลือจริงๆ


    และทางคณะกรรมการขอโมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 ตุลาคม 2009
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ตายแล้วเอาอะไรไปไม่ได้...หลวงปู่สิม พุทธาจาโร

    <!-- Main -->[SIZE=-1]
    [​IMG]

    [​IMG]

    หลวงปู่สิม พุทธาจาโร
    ภาพพระธาตุของพระเดชพระคุณหลวงปู่ ฯ



    การภาวนาก็เหมือนกัน ต้องรู้จักเลือกอุบายภาวนา
    พิจารณาอุบายที่ถูกจริต อาศัยความเพียรอย่างเดียวบ่ได้
    กิเลสมันพลิกแพลงเก่ง ต้องตามให้ทัน
    คนรู้จักพิจารณา ก็บรรลุธรรมเร็ว
    มรณกรรมฐานนี้ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย ไม่ใช่เพียงคำพูด
    คำพูดหรือตัวหนังสือมันจะละกิเลสอะไรไม่ได้
    แต่ถ้าผู้ปฏิบัติน้อมนึกรำลึกในมรณกรรมฐาน
    ไม่ว่าจะเห็นคน เห็นสัตว์ ป่าไม้ ป่าดงพงพี
    ก็เห็นแตกดับ ความตายของคน ของสัตว์
    ของต้นไม้ใบหญ้า ผลที่สุดที่เกิดมาแล้ว
    ก็ต้องมีแตกดับทำลายตายไปเป็นธรรมดา
    ใครจะมายึดมาถือว่าตัวเราของเราไม่ได้ทั้งนั้น
    ยึดไปเถิด เมื่อถึงความตายแล้วก็ต้องทิ้ง ไม่ทิ้งก็จำใจทิ้ง
    เมื่อจิตใจของผู้ภาวนา ภาวนาเข้าถึงซึ่งมรณกรรมฐานแล้ว
    ไม่ห่วงใคร บ้านก็ไม่ห่วง ลูกเต้าก็ไม่ห่วง
    ลูกหลานเหลนโหลนอะไรก้ไม่ห่วงทั้งนั้น
    เพราะมันเล็งเห็นแจ้งชัดว่า ตายแล้วเอาอะไรไปไม่ได้


    หลวงปู่สิม พุทธาจาโร

    วัดถ้ำผาปล่อง จ.เชียงใหม่


    ที่มา:เวปธรรมะศรัทธา
    [/SIZE]
     
  11. รับโชค

    รับโชค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    2,131
    ค่าพลัง:
    +11,878
    อนุโมทนา สาธุ ครับผม รอบน้ีได้ทำบุญกับพระอรหันต์แล้วเรา สาธุ สาธุ สาธุ
    กระผมจะบริจาคเข้าทำบุญ ทุกเดือนครับผม เดือนท่ีแล้วได้ทำเป็นเดือนแรกครับผม
     
  12. dragonlord

    dragonlord เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    541
    ค่าพลัง:
    +1,541
    ขอร่วมบริจาคเพิ่มเติม 1000 บาทคะ

    โอนแล้วเมื่อเวลา 17:56 คะ

    อนุโมทนาคะ

     
  13. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    รสแห่งความเมตตา ชุ่มเย็นยิ่งนัก
    <HR SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->
    [​IMG]



    พระคติธรรม

    พื้นแผ่นดิน แม่น้ำ ภูเขา ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ คนเรามีปัญญาถมทำให้เป็นถนน ขุดให้เป็นแม่น้ำ ลำคลอง ทำสะพานข้ามแม่น้ำใหญ่ สร้างทำนบกั้นน้ำ ฉันใด ความขรุขระของชีวิตเพราะกรรมเก่าก็ฉันนั้น เหมือนความขรุขระของแผ่นดินตามธรรมชาติ คนเราสามารถประกอบกรรมปัจจุบัน ปรับปรุงสกัดกั้นกรรมเก่าเหมือนอย่างสร้างทำนบกั้นน้ำ เป็นต้น เพราะคนเรามีปัญญา

    อันที่จริง ทั้งความสุข ทั้งความทุกข์ เป็นอุทกภัยเหมือนกัน ถ้ามีสิ่งที่เป็นเกาะเป็นที่พึ่งของใจดีแล้วก็ไม่เดือนร้อน การทำใจก็คือ การให้เป็นเกาะที่พึ่งของใจนี่เอง คนมีบุญก็คือ คนมีเกาะของใจดีที่ได้สร้างสมมาแล้ว และกำลังสร้างสมอยู่

    ผู้ที่ทำกรรมดีอยู่มากเสมอ ๆ จึงไม่ต้องกลัวกรรมชั่วในอดีต...หากจะมี กุศลของตนก็จะชูช่วยให้มีความสุขความเจริญสืบไป และถ้าได้แผ่เมตตาจิตอยู่เนือง ๆ ก็จะระงับคู่เวรอดีตได้อีกด้วย ระงับได้ตลอดถึงปัจจุบัน

    สมเด็จพระญาณสังวร
    สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
     
  14. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ธิติ [​IMG]
    เมื่อวานนี้ (วันที่ 7 ต.ค. เวลาประมาณ 9.15 น.) คุณแม่ได้โอนเงินร่วมทำบุญกับทุนนิธิฯ ประจำเดือนนี้จำนวน 500 บาทครับ อนุโมทนากับทุกท่านด้วยครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ homo [​IMG]
    โอนเงินร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ จำนวน 101 บาท

    วันที่ 7/10/2552 เวลา 17:15 น. Location S1B1775

    ขออนุโมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านที่ร่วมทำบุญด้วยครับ สาธุ...
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ชิน9 [​IMG]
    สวัสดีครับทุกท่าน ผมได้โอนเงินบริจาคจำนวน 2,000.-บาท

    13/10/2009 09 .21 น.โอนผ่าน TMB internet banking


    ด้วยบุญอุทิศนี้ให้อาม่า,ป๋า,แม่,อาโกว,ชิน9,น้องๆ,หลานๆ,เพื่อนๆ,บริวาร,ผู้มีพระคุณ,ครู,อาจารย์,คนไทยทุกคน,ลูกค้าทุกคน,ผู้เช่าบ้านและร้านของชิน9

    ขอเชิญเพื่อนๆมาร่วมอนุโมทนาบุญด้วยกันนะครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    รอบนี้ทางทุนนิธิได้ร่วมบุญกับพระอรหันต์ถือว่าเป็นบุญอย่างล้นเหลือจริงๆ


    และทางคณะกรรมการขอโมทนาบุญกับทุก ๆ ท่านครับ

    สาธุ สาธุ สาธุ



    ในนามคณะกรรมการฯ ทุนนิธิฯ ก็ขอโมทนาบุญกับทุกคนด้วยเช่นเดียวกัน หากขาดตกรายชื่อใดไปก็ขออภัยด้วยครับ เพราะตอนนี้ก็งงๆ กับระบบปฏิบัติการของเวบเหมือนกัน

    [​IMG]


     
  15. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    มหาสมัยสูตร - พระสูตรช่วยชาติบ้านเมือง
    <!-- Main -->
    เนื้อหาโดยย่อ ตำนานมหาสมัยสูตร

    มหาสมัยสูตรปรากฎความในพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกามหาวรรค ภายหลังการบรรลุอนุตราสัมมาสัมโพธิญาณของพระบรมศาสดา พระองค์ได้เสด็จจาริกไปในสถานที่ต่าง ๆ เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก และเมื่อทราบทราบว่าพระเจ้าสุทโธทนะพระพุทธบิดาประชวรหนัก จึงเสด็จกลับสู่กรุงกบิลพัสดุ์อีกครั้งเพื่อเยี่ยมอาการพระพุทธบิดา พร้อมด้วยพระสงฆ์สาวกเป็นจำนวนมาก ทรงถวายพยาบาลพระพุทธบิดาตามพุทธวิสัย และโปรดให้พระพุทธบิดาได้บรรลุพระอรหันต์พร้อมปฏิสัมภิทาทั้งหลาย ในกาลต่อมาพระพุทธบิดาก็ปรินิพพานบนพระแท่นบรรทมภายใต้เศวตฉัตรนั้งเอง
    ภายหลังถวายพระเพลิงพระศพพระพุทธบิดา พระพุทธองค์ตรัสว่า
    "บุคคลใดมีจิตปรารถนาพระโพธิญาณ จงอุตสาหะภิบาลบำรุงบิดามารดา ประพฤติกุศลสุจริตธรรม จักสมปรารถนาทุกประการ"

    รุ่งขึ้นอีกวัน ขณะทีพระองค์ประทับอยู่ที่นิโครธาราม กรุงกบิลพันดุ์ เหล่าพระญาติข้างฝ่ายศากยะ และ โกลิยะที่ตั้งหลักแหล่งอยู่สองฝั่งแม่น้ำโรหิณีได้วิวาทกันเรื่องแย้งน้ำทำ นา
    กษัตริย์ทั้งสองจึงยกกองทัพออกไปจะทำสงครามกัน
    เพราะไม่สามารถตกลงกันได้ พระพุทธองค์ทรงทราบเหตุการณ์นั้นด้วยพระญาณ
    ทรง ถือบาตรและจีวรด้วยพระองค์เอง ไม่ทรงแจ้งให้ใคร ๆ ทราบ เสด็จพุทธดำเนินแต่เพียงพระองค์เดียว ไปประทับนั่งขัดบัลลังก์ระหว่างกองทัพกษัตริย์ทั้งสองนคร

    ครั้นกองทัพชาวเมืองกบิลพัสดุ์และชาวเมืองโกลิยะเห็นพระองค์นั้น
    ต่าง ก็คิดว่าพระศาสดาผู้เป็นพระญาติ ผู้ประเสริฐของพวกเราเสด็จมา จึงทิ้งอาวุธเขาไปเฝ้าพระพุทธองค์ทั้งที่พระองค์ทรงทราบสถานการณ์ขณะนั้นดี แต่ก็ตรัสถามเรื่องราวที่เกิดขึ้น
    แล้วตรัสสอนว่า มหาบพิตร พวกพระองค์อาศัยน้ำที่มีค่าน้อยแล้วทำให้กษัตริย์ซึ่งหาค่ามิได้ให้ฉิบหายทำไมกัน

    ครั้นแล้ว พระพุทธองค์ได้ตรัส ผันทนชาดก ทุททุภายชาดก และลฏุกิกชาดก
    เพื่อระงับการวิวาทของพระญาติทั้งสองฝ่าย และตรัสรุกขธรรมชาดก และวัฏฏชาดก
    เพื่อ ให้เกิดความสามัคคีพร้อมเพรียงกันว่า "หมู่ญาติยิ่งมากยิ่งดี ต้นไม้ที่เกิดในป่าแม้จะโตเป็นเจ้าป่า ถ้าตั้งอยู่โดดเดี่ยวย่อมถูกแรงลมพัดโค่นลงได้
    และว่านกทั้งหลายมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ย่อมพาตาข่ายไปได"้ และในที่สุดก็ตรัส อัตตทัณฑสูตร

    กษัตริย์เหล่านั้นได้สดับพระธรรมเทศนาแล้ว
    เกิดความสังเวชพากันทิ้งอาวุธกล่าวว่า หากพระบรมศาสดา ไม่เสด็จมา
    พวก เราก็จะฆ่าฟันซึ่งกันและกันเลือดไหลนองเป็นสายน้ำ ไม่มีโอกาสได้กลับบ้านเห็นหน้าลูกเมียญาติพี่น้อง กษัตริย์ทั้งสองพระนครจึงถวายพระราชกุมาร 500 องค์ คือ ฝ่ายละ 250 องค์ ให้บรรพชา อุปสมบทกับพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา

    อรรถกถามหาสมัยสูตร เล่าถึงเหตุการณ์ที่ภิกษุราชกุมารเหล่านั้นบรรลุธรรมไว้ว่า
    เมื่อพระพุทธองค์นำภิกษุราชกุมารเหล่านั้นมาสู่ป่ามหาวัน
    ประทับนั่งบนพุทธอาสน์ที่ภิกษูปูถวาย ในโอกาสทีสงัด ตรัสบอก
    กัมมัฏฐานแก่ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นรับกัมมัฏฐานแล้ว
    ต่างแยกย้ายกันไปเจริญวิปัสสนาตามเงื้อมผา และโคนไม้ในโอกาสที่เงียบสงัด
    และก็ทยอยบรรลุพระอรหัตแล้ว ก็ลุกขึ้นจากที่นั่งเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้า จนครบทั้ง 500 รูป

    อรรถถาได้อธิบายความคิดของพระที่ได้บรรลุพระอรหันต์ไว้ว่า
    พระผู้บรรลุพระอรหัตสิ้นกิเลสอาสวะทั้งหลายแล้ว ย่อมมีความคิดอยู่ 2 อย่างคือ
    1. มีความคิดว่า คนทุกคนตลอดจนเทวดาทั้งหลาย ก็สามารถที่จะบรรลุธรรมตามที่เราบรรลุได้เช่นเดียวกัน
    2. พระที่บรรลุธรรมไม่ประสงค์จะบอกคุณธรรมที่ตนได้บรรลุแก่ผู้อื่น
    เหมือนคนที่ฝังขุมทรัพย์ไว้ไม่ต้องการให้ใครรู้ที่ฝังขุมทรัพย์ของตน

    เมื่อเทวดาทั้งหลายทราบว่า
    พระบรมศาสดาประทับอยู่ที่ป่ามหาวันใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ พร้อมด้วยภิกษุ 500 รูป
    ล้วนเป็นพระอรหัตบวชจากราชตระกูล ต่างก็กล่าวว่า
    นี้เป็นสมัยแห่งการประชุมใหญ่ในป่ามหาวัน
    พวกเราจักไปชมความงดงามของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวกผู้หมดจด
    ต่างก็แต่งคาถากล่าวสรรเสริญ พระพุทธเจ้าและเหล่าสาวก
    เทวดาที่มาประชุมกันใวนนั้นมีจำนวนมากมาย ภิกษุบางรูปก็เห็นเทวดาร้อยหนึ่ง
    บางรูปก็เห็นพันหนึ่ง บางรูปก็เห็นหมื่นหนึ่ง
    บางรูปก็เห็นแสนหนึ่ง บางรูปก็เห็นไม่มีที่สิ้นสุด แตกต่างกันไปตามกำลังญาณของแต่ละองค์

    ในยุคของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะมีการประชุมเทวดาจำนวนมากเช่นนี้ก็เพียงครั้งเดียว
    พระ พุทธองค์ ได้ตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า เทวดาในแสนจักรวาลมาประชุมกันเพื่อชมตถาคตและหมู่ภิกษุสงฆ์ เทวดาประมาณเท่านี้แหละได้เคยประชุมกันเพื่อชมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้าในอดีตกาลแล้ว และพวกเทวดาประมาณเท่านั้นแหละจักประชุมกันเพื่อชมพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ เจ้าในอนาคตกาล แล้วพระองค์ก็ทรงแนะนำเทวดาแต่ละจำพวกให้ภิกษุทั้งหลายฟังตามลำดับ ตั้งแต่กุมมเทวดาไปจนถึงพรหมโลก

    ขณะที่เทวดาจากหมื่นจักรวาลมาประชุมกันจนครบนั้น ท้องฟ้าโปร่งใส่ไม่มีเมฆหมอก ก็กลับเกิดเมฆฝนคำรณคำรามกึกก้องฟ้าแลบแปล๊บพราย พระพุทธองค์ทรงพิจารณาทราบว่า หมู่มารก็ได้มาด้วย จึงทรงแนะนำให้ภิกษุรู้จักพญามารเอาไว้

    พญามารกำลังสั่งบังคับเสนามารให้ผูกเหล่าเทวดาไว้ในอำนาจแห่งกามราคะ
    แต่พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานไม่ให้เหล่าเทวดาเห็น พญามารไม่ได้ดั่งใจจึงทำให้เกิดฟ้าร้องกึกก้องกัมปนาทไปทั่ว

    โดยปกติในที่จะไม่มีการบรรลุมรรคผล พระพุทธองค์จะไม่ทรงห้ามมารแสดงสิ่งอันน่ากลัวของมาร
    แต่ในที่จะมีการบรรลุมรรคผล พระองค์จะทรงอธิษฐานไม่ให้ใครรู้เห็นสิ่งที่พญามารกำลังทำ
    เนื่องจากการประชุม ใหญ่ของเทวดาครั้งนั้น
    จะ มีเทพบรรลุมรรคผลเป็นจำนวนมาก พระพุทธองค์จึงทรงอธิษฐานไม่ให้พวกเทวดา รับรู้สิ่งอันน่ากลัวของหมู่มารนั้น พญามารนั้นจึงกลับไปด้วยความเดือดดาลฯ

    สวดเมื่อไร ? สวดแล้วได้อะไร ?

    มหาสมัยสูตร เป็นสูตรว่าด้วยสมัยเป้นที่ประชุมใหญ่ของเหล่าเทพ ในยุคของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์จะมีการประชุมใหญ่ของเหล่าเทวดาทั้งหลาย เช่นนี้เพียงครั้งเดียว เทวดาทั้งหลายจึงพากันคิดว่าพวกเราจะฟังพระสูตรนี้ เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงมหาสมัยสูตรจบ
    เทวดาจำนวนหนึ่งแสนโกฎิได้บรรลุพระอรหัต

    พระสูตรนี้จึงเป็นที่รักที่ชอบใจของพวกเทวดา เทวดาทั้งหลายต่างก็คิดว่าพระสูตรของตน เมื่อสวดพระสูตรนี้จะทำให้เหล่เทวดาทั้งหลายประชุมกัน
    เมื่อเทวดาประชุมกันก็จะทำให้สิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายถอยห่างออกไป
    เป็นการป้องกันสิ่งที่ไม่ดีไม่ให้เข้ามาใกล้ตัวเรานั้นเอง

    พระอรรถกถาจารย์จึงแนะนำว่า "มหาสมัยสูตรนี้ เป็นที่รักที่ชอบใจของเทวดา
    ใน สถานที่ใหม่เอี่ยม เมื่อจะกล่าวมงคลกถา ควรสวดพระสูตรนี้" หมายความว่าในสถานที่สำคัญที่จะประกอบกิจใหม่ หรือในสถานใดที่ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ เมื่อจะสวดมงคลกถาในสถานที่เช่นนี้ควรสวดมหาสมัยสูตรนี้

    เนื่องจากมหาสมัยสูตรเป็นสูตรใหญ่ จึงไม่นิยมใช้สวดในงานทำบุญทั่ว ๆ ไป แต่จะนิยมนำไปสวดเฉพาะในพิธีที่เกี่ยวข้องกับความอยู่เย็นเป็นสุขของทางบ้าน เมืองเป็นหลัก

    นอกนั้นแล้ว การเจริญพระพุทธมนต์ยังเป็นรูปแบบของการเจริญสมาธิภาวนาอย่างหนึ่ง แต่แทนที่จะใช้วิธีนั่งบริกรรมให้จิตเกาะเกี่ยวอยู่กับคำใดคำหนึ่งหรือสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งเพียงอย่างเดียวเพื่อเป็นสื่อให้เข้าถึงความสงบ
    ก็ใช้วิธีจิตเกาะเกี่ยวไปกับอักขระเป็นเกาะแสเช่นนี้
    ไม่ปล่อยให้ความรัก โลภ โกรธ หลง กามราคะ อาฆาตพยาบาท
    ได้โอกาสแทรกเข้ามาครอบงำจิต ทำให้จิตมีความผ่องใส
    เป็นจิตมีพลังในการต้านทานกิเลส ที่จะเข้ามามีอำนาจเหนือสติปัญญา

    จิตเช่นนี้เป็นจิตสงบ คือสงบจากกามราคะ อาฆาตพยาบาท
    หงุดหงิด ฟุ้งซ่าน รำคาณ เบื่อหน่าย จึงชื่อว่า "จิตเป็นสมาธิ"


    Bloggang.com : woodchippath :
     
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    บทความดีดีสำหรับคนมีความทุกข์
    <!-- Main --><STYLE>body{background-attachment: fixed;background-image:url("http://www.auntymod.com/bg/bg22.jpg");}</STYLE>

    คุณเคยรู้สึกไหม ว่าชีวิตช่างลำบาก
    คุณไม่อยากอยู่ในสภาพแวดล้อมอย่างที่เป็นอยู่
    คุณรู้สึกว่า ชีวิตนั้นเป็นทุกข์

    [​IMG]


    อาชีพการงานไม่ได้ดั่งใจ อะไร ๆ ก็ผิดพลาดไปหมด?



    เรื่องราวต่อไปนี้ อาจจะเปลี่ยนแปลง
    “ทัศนคติ” ที่คุณมีต่อชีวิตคุณได้

    ผมสนทนากับเพื่อนคนหนึ่ง ถึงแม้ว่า เขาจะทำงานสองอย่าง
    รายได้แต่ละเดือนหักลบรายจ่ายแล้วยังเหลือแค่พันกว่า
    แต่เขาก็มีความสุขมากแล้ว
    ผมแปลกใจมากที่เขามีความสุขขนาดนั้น
    เพราะเขามีรายได้น้อย

    ต้องประหยัดมัธยัสถ์จึงจะพอมีเหลือเลี้ยงดูคุณพ่อคุณแม่สูงอายุ
    พ่อตาแม่ยาย ภรรยาและลูกสาวอีกสองคน
    ไหนจะค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
    จุกจิกภายในครอบครัว

    [​IMG]

    เขาอธิบายให้ฟังว่า
    เป็นเพราะหลายปีก่อนเขาได้เห็นเหตุการณ์บางอย่างที่ประเทศอินเดีย
    ขณะนั้นเขา ประสบปัญหาที่สาหัสมาก
    สภาพจิตใจตกต่ำจึงไปเที่ยวอินเดียเพื่อให้สบายใจขึ้น
    เขาได้เห็นกับตา ผู้หญิงชาวอินเดียคนหนึ่ง
    ถือมีดอีโต้ตัดแขนขวาของลูกตัวเอง
    สายตาที่หมดหวังของผู้หญิงคนนั้น
    และเสียงร้องครวญครางด้วยความเจ็บปวดของเด็กอายุสี่ขวบ
    จนบัดนี้ยังวนเวียนอยู่ในใจเขามิรู้ลืม
    คุณอาจจะถามว่า
    ทำไมแม่คนนั้นจึงต้องทำเช่นนี้ ?
    เป็นเพราะลูกของเธอซุกซนเกินไปหรือเปล่า ?
    หรือเป็นเพราะแขนของเด็กติดเชื้อ ?

    ...ไม่ใช่...

    ที่แท้ทำไปเพื่อให้เด็กสามารถไปขอทานตามถนน
    แม่ผู้สิ้นหวังคนนั้นจงใจทำให้
    ลูกตัวเองพิการ เพื่อเขาสามารถออกขอทานตามท้องถนนได้

    [​IMG]

    เพื่อนของผมคนนี้ตกใจแทบช๊อก
    ขนมปังในมือของเขาที่เพิ่งกินได้ครึ่งก้อนตกหล่นลงพื้น
    ทันทีทันใดก็มีเด็กๆ ห้าหกคนกรูกันเข้ามา
    แย่งชิงขนมปังที่เลอะทรายบนพื้น
    เหมือนกับปฏิกิริยาอัตโนมัติเวลาผจญกับความหิวโหย
    เขาตกใจกับเหตุการณ์ดังกล่าว

    ไกด์ของเขาขับรถพาเขาไปยังร้านขนมปังที่ใกล้ที่สุด
    เขาเข้าไปในสองร้านของละแวกนั้น ขอซื้อขนมปังทั้งหมดในร้าน
    เจ้าของร้านขนมปังแปลกใจมาก แต่ก็ยินดีขายขนมปังทั้งหมดให้เขา
    เขาใช้เงินทั้งหมดไม่ถึงหนึ่งร้อยเหรียญ
    ซื้อขนมปังมาประมาณสี่ร้อยกว่าก้อน
    (ตกก้อนละไม่ถึง 25 เซน)

    แล้วใช้อีกหนึ่งร้อยเหรียญซื้อของใช้ประจำวัน
    และแล้ว เขาก็นั่งบนรถบรรทุกที่บรรทุกขนมปังไว้เต็มคันรถ
    ขับไปบนถนน ขณะที่เขาแจกจ่ายขนมปังและของใช้ประจำวันให้กับเด็ก ๆ
    ซึ่งพิการเป็นส่วนใหญ่นั้น
    พวกเขาล้วนโค้งคำนับให้ด้วยความดีใจ นั่นเอง
    เป็นครั้งแรกในชีวิตที่เขาคิดได้ว่า
    ทำไมคนเราจึงสามารถละทิ้งศักดิ์ศรีของตนเองเพียงเพื่อชิ้นขนมปัง
    ราคาไม่ถึง 25เซน

    เขาเริ่มบอกตนเองว่าตนเองนั้นโชคดีแค่ไหน
    เขามีร่างกายครบสามสิบสอง
    มีอาชีพการงาน มีครอบครัว
    มีโอกาสบ่นว่าอาหารชิ้นไหนดี อาหารชิ้นไหนไม่อร่อย
    มีโอกาสสวมใส่เสื้อผ้า
    มีโอกาสครอบครองสิ่งของมากมายที่คนเหล่านี้ไม่มี

    ตอนนี้ ผมเริ่มคิดได้และตระหนักได้ว่า
    ชีวิตของผมมันย่ำแย่จริงหรือ ?
    บางทีมันอาจไม่ได้ย่ำแย่ขนาดนั้นก็ได้ คุณละ ?
    บางทีเมื่อครั้งหน้าคุณรู้สึกว่า ชีวิตของตนกำลังย่ำแย่
    ลองคิดถึงเด็กคนที่ต้องเสียแขนเพื่อเป็น ขอทานคนนั้นดูสิ !

    “ความรู้สึกพอ”

    ไม่ใช่มาจากการเติมเต็มสิ่งที่คุณต้องการ
    แต่มาจากการตระหนักว่า คุณมีมากมายและเพียงพอ

    [​IMG]

    เมื่อประตูแห่งความสุขปิดลง ประตูอีกบานหนึ่งก็จะเปิดออก
    แต่บ่อยครั้งเรามัวแต่จ้องบานประตูที่ปิดลงเท่านั้น
    ไม่ได้สังเกตเห็นประตูอีกบานหนึ่งที่เปิดออกเพื่อเรา
    จริงอยู่ พวกเรามักจะรู้ว่าตนเองมี
    ก็ต่อเมื่อเราสูญเสียมัน
    แต่พวกเราก็ต้องคอยจนกว่าของสิ่งนั้นมาถึง
    จึงจะรู้ตัวว่า เราไม่มีมัน

    [​IMG]

    การมอบความรักทั้งหมดให้กับผู้อื่น
    มิได้หมายความว่า เราจะได้รับความรักตอบกลับมาอย่างเท่าเทียมกัน
    อย่าหวังว่า รักผู้อื่นแล้วผู้อื่นจะรักตอบ
    จงสนใจแค่ให้ความรักนั้น เติบโตขึ้นในใจพวกเขา
    แต่ถ้าไม่เติบโตขึ้นเลยก็จงพอใจกับความรักที่เติบโตขึ้นในใจของคุณเอง

    [​IMG]

    หนึ่งนาทีจึงจะทำลายคน ๆ หนึ่งได้

    หนึ่งชั่วโมงจึงจะชอบคน ๆ หนึ่งได้

    หนึ่งวันจึงจะรักคนๆ หนึ่งได้

    แต่ต้องใช้เวลาตลอดชั่วชีวิต

    จึงจะลืมคน ๆ หนึ่งได้

    [​IMG]

    จงอย่ามองเพียงรูปภายนอก เพราะสักวันมันจะหลอกคุณ
    จงอย่ามองแค่ความร่ำรวย ทรัพย์สมบัติ เพราะสักวันมันจะซีดจางลง
    หาใครสักคนที่ยิ้มให้คุณ เพราะเมื่อมีรอยยิ้ม
    จะทำให้อารมณ์ของคุณดีขึ้น
    หาใครสักคนที่ทำให้คุณอมยิ้มได้จากใจจริง

    บางครั้งเมื่อคุณคิดถึงใครสักคน
    ความคิดถึงนั้นอาจถึงขั้นให้คุณคว้าตัวเขาออกมาจากความฝัน
    โอบกอดตัวเขาเอาไว้ ไล่ตามความฝันของคุณเอง

    ไปยังที่ ๆ คุณอยากไป
    เป็นอย่างคนที่คุณอยากเป็น
    เพราะคุณมีเพียงชีวิตเดียว
    ซึ่งหมายถึง...มีเพียงโอกาสเดียวในการทำสิ่งที่คุณอยากทำ


    จากฟอร์เวิร์ดเมล์...

    [​IMG]


    http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=calalily&month=05-10-2009&group=8&gblog=1
     
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    คำคมสั้นๆ ของหลวงปู่ ฯ

    <!-- Main -->




    [SIZE=-1]วันนี้มาอ่านข้อคิดธรรมะจากหลวงปู่หลายๆท่าน ประกอบกับภาพสวยๆ [/SIZE][SIZE=-1]
    [SIZE=-1]ธรรมะสอนใจเหล่านี้อ่านสั้นๆ เข้าใจง่ายๆ[/SIZE]
    [SIZE=-1]คงจะเรียกว่า "คำคมสั้นๆ ของหลวงปู่ ฯ" ไม่ผิดอะไรนะครับ[/SIZE]
    [SIZE=-1]เชิญติดตามกันได้พร้อมรับฟังเพลงเพราะไปด้วย[/SIZE]
    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    ภาพและเนื้อหาจาก YehYeh.com
    [​IMG]



    <CENTER>ภาพและเนื้อหาจาก YehYeh.com</CENTER>
    [​IMG]


    <CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>[/SIZE]
     
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ขอประชาสัมพันธ์แจ้งวันทำกิจกรรมที่ รพ.สงฆ์ ประจำเดือนตุลาคมนี้ดังนี้

    1. กำหนดการทำกิจกรรมในวันอาทิตย์ที่ 25 ตุลาคม 2552


    2. ยอดเงินการบริจาคทุก รพ. จะแจ้งให้ทราบภายหลัง หลังจากที่ได้มีการประชุมคณะกรรมการในวันอาทิตย์ที่ 18 นี้แล้ว


    3. จำนวนพระสงฆ์ที่จะถวายสังฆทานอาหารจะทราบยอดทั้งหมดได้ในวันพฤหัสที่ 22 นี้


    4. กิจกรรมเสริม :
    จะสอนวิธีดูพระพิมพ์สกุลเจ้าคุณกรมท่าทั้งพิมพ์ปัญจสิริ เนื้อกระเบื้องและเนื้อกังไส ที่ยังไม่เคยนำมาสอนทั้งหมด


    มอบเครื่องดูดเสมหะเพิ่มเติมอีก 1 เครื่องให้พระสงฆ์ที่อาพาธ โดยจะนำเครื่องมาติดสติกเกอร์ของทุนนิธิฯ ก่อนที่จะมอบให้ รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น


    หลังจากการประชุมในวันอาทิตย์นี้แล้ว จะได้มาประชาสัมพันธ์ให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง ถึงเรื่องการเบิกเงินจากทุนนิธิฯ ทั้งหมดให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง แต่เท่าที่ตรวจสอบจากยอดทำบุญกับสงฆ์อาพาธในเดือนนี้เมื่อรวมค่าภัตตาหาร, ค่าเวชภัณฑ์, ค่าซื้อโลหิต และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ตามที่ รพ.ต่างๆ ขอบริจาคมาคร่าวๆ แล้ว ในเดือนนี้ก็ตกราวหนึ่งแสนกว่าบาทครับ

    พันวฤทธิ์
    14/10/52

    พันวฤทธิ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 ตุลาคม 2009
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    ตัวอย่างพระพิมพ์สมเด็จเนื้อแบบกังไส ของจริงของผมเนื้อขาวใส คราบรอยแตกแบบแตกลายงาเช่นเดียวกับแบบไข่นกปลอดสวยงามมากจริงๆ ชนิดว่าดูแล้ว ต้องจุ๊ปาก สวยใสบาดตาตรึงใจจริงๆ ในวันกิจกรรมจะนำติดมาไปให้ชมด้วยพร้อมกับของนายสติด้วยครับ แต่อย่างในตัวอย่างนี้หย่อนงามไปหน่อยเพราะสีขุ่นมาก เข้าใจว่าคงเก็บไว้ไม่ดี สีเลยออกไปทางขุ่นไม่ค่อยตรึงใจเท่าไร


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" align=left border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" align=left bgColor=#014990>พระสมเด็จพิมพ์โบราณ วัดระฆัง(1695)


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD class=txtNormal>พระสมเด็จองค์นี้ก็ไม่ใช่ธรรมดานะคร๊าบเห็นเส้นบังคับพิมพ์ไรๆเสียด้วย เนื้อปูนกังไสจัดแกร่งสวยงาม นี่เรามันจนต้องแขวนแบบนี้ถูกด้วยแท้ด้วย ดูเนื้อแบบนี้ดูยากต้องมองนานหน่อยรับรองได้เลยว่ามองจากภาพนะไม่รู้เรื่องหรอกต้องมองของจริง เพราะต้องมองเนื้อให้เป็นมิติ เหมือนอย่างในตำราว่าต้องมองเล็บมือ ส่วนผมว่าต้องมองปลาที่อยู่ใต้น้ำ เอาแล้วไม๊นอกตำราอีกแล้ว บอกว่าเล็บมือ เล็บมือ ไอ้นี่มองปลาในน้ำ เออ!เอากับมันซิ จะมองอย่างไรก็ช่างเถอะมองให้ออกก็แล้วกัน นี่ตัวอย่างดูตามนี้ดูฟรีไม่คิดตังค์ ดูเป็นแล้วจะเสียตังค์ไปเสาะหาเอา(ไม่ใช่องค์นี้ ) แต่เสียตังค์แบบถูกๆนำมาใช้บูชากันถ้วนหน้า ให้เขาลือกันว่าข้านี่แหละคือศิษย์สมเด็จโต


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    /www.jeenlear.com




    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=620 border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2009
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,790
    ค่าพลัง:
    +16,105
    อย่างสมเด็จพิมพ์นี้ก็สุดยอด เคยให้ผู้ที่ตรวจรังสีพระเครื่องเป็น โดยท่านเป็นอาจารย์วัยกลางคนที่มีอันจะกิน บอกว่ารังสีๆ พระพิมพ์นี้สีชมพูค่ะ กระแสเร็วมากด้วย ก็เลยสงสัยว่า พิธีอธิษฐานจิตของพระพิมพ์นี้สงสัยท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ท่านคงจะเชิญหลวงปู่ใหญ่องค์ที่ 3 มาในพิธีด้วย ทีนี้สำหรับพระพิมพ์นี้ไม่มีคำอธิบายว่าเนื้ออะไร พิมพ์ทรงอย่างไร แต่ก็มีบทความเรื่องพระอภิญญามาลงให้อ่านกัน ลองอ่านบทความของเค้าดูครับ อจินไตยดี ส่วนที่มาของรูปพระพิมพ์และเนื้อเรื่องก็มาจากเวบข้างบนเหมือนกัน

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="95%" align=left border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" align=left bgColor=#014990>พระสมเด็จพิมพ์โบราณ วัดระฆัง(8867)



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD class=txtNormal>" พระภิกษุชรา มาบอกให้สวดมนต์ " มีอยู่คราวหนึ่งเมื่อครั้งยังเป็น นักเรียนช่างฝีมือทหารชั้นปีที่ 2แล้วได้ปล่อยกลับบ้านในเย็นวันศุกร์ และต้องกลับมารวมแถวในวันอาทิตย์สองทุ่มให้ทัน ผมก็เดินทางมาจากสัตหีบในตอนบ่ายของวันอาทิตย์ ลงรถที่เอกมัยแล้วต่อรถสาย 38 เอกมัยหมอชิตขึ้นต้นสายเลยในสมัยก่อนนั้นรถเมล์สาย 38 ยังเป็นรถทำตัวถังด้วยไม้อยู่เลยรถจะไม่สูงมาก เวลาเรายืนอยู่นอกรถนี่สามมารถมองเห็นได้ทั่วรถเลย ก็นั่งเบาะด้านท้ายรถไม่นั่งกลางๆเพราะจะได้ให้ผู้หญิงนั่งเราเป็นนักเรียนทหารนี่ต้องเสียสละคนก็ทยอยขึ้นรถมาก็เต็มแล้วละรอเวลาออกเท่านั้น และแล้วก็มีภิกษุชราก้าวขึ้นมาทางประตูหลัง ผมก็หยิบหูกระเป๋าประจำตัวจะลุกให้พระท่านนั่ง ช้าไปคนที่นั่งข้างขวามือของผมชิงลุกขึ้นให้ท่านนั่งเสียก่อน คราวนี้ถึงตอนเก็บเงินค่ารถผมเป็นทหารรถเมล์ในยุคนั้นเขายกเว้นไม่เก็บค่าโดยสาร แต่กระเป๋ามันเก็บพระแก่ๆที่นั่งข้างขวาผม ท่านก็ไม่ว่าอะไรล้วงย่ามหยิบกล่องข้าวสำหรับเด็กนักเรียนที่มีสามหูที่ทำด้วยอลูมิเนียม ท่านก็เปิดกล่องข้าวขึ้นท่านนั่งติดไหล่ข้างขวาของผมแค่เหลือกตามองก็เห็นภายในกล่องข้าวหมดแล้ว ผมก็เห็นภายในมีแต่ใบไม้แห้งๆสีน้ำตาล เห็นชัดๆจะๆว่ามันเป็นใบไม้แห้งๆ แล้วท่านจะเอาอะไรหว่าผมกะว่าจะจ่ายค่ารถแทนท่าน หากเห็นอาการบ่งบอกสักเล็กน้อยว่าไม่มีสตางค์ แต่เปล่าภิกษุชรารูปร่างสันทัดใบหน้าเหี่ยวย่นกลับวางเฉย แล้วก็หยิบใบไม้แห้งไปหนึ่งใบยื่นไปให้กระเป๋ารถ พอกำลังจะส่งให้กระเป๋าใบไม้ที่แห้งๆกลับกลายเป็นแบ๊งค์ใบละ 20บาท โอ้โหเราเจอพระอภิญญาเข้าให้แล้ว นี่กลางวันแสกๆเห็นชัดๆเพราะนั่งชนไหล่กันเลย กระเป๋ารถพอหยิบแบงค์ 20บาทไปก็ไม่ฉีกตั๋วให้พระท่านด้วยหนำซ้ำก็ไม่ทอนเงินให้ด้วย เพราะค่ารถนี่แค่ 2.50 บาทต้องทอน นึกในใจเดี๋ยวเถอะมึงสวยขอให้ใกล้หมอชิดก่อนเถอะ ระหว่างทางท่านก็เอื้อมเมือข้างขวาของท่านมาสะกิดที่ไหล่ข้างขวาของผม แล้วก็พูดขึ้นว่าก่อนจะนอนนะสวดมนต์บ้างนะ ผมก็รับปากกับท่าน แต่ท่านรู้ได้อย่างไรว่าผมมักไม่ได้สวดมนต์ก่อนนอนละ ก็ฟังอย่างเดียวนานๆเจอทีพระอภิญญานี่ แล้วผมก็ถามท่านว่าหลวงพ่ออยู่ที่ไหนครับ ท่านตอบว่าอยู่เสนา ครั้นพอสุดสายผู้โดยสารก็ร่อยหลอเหลืออยู่ประมาณสี่ ห้าคน แต่เบาะหลังเหลือเพียงผมกับท่านเท่านั้น ผมก็ลงรถเพราะสุดสายแล้วพอลงมาอ้าวหลวงพ่อหายไปแล้ว หายไปตอนที่ผมก้าวลงจากรถ ที่ท่ารถเมล์ก็ไม่มีใครแล้วมองขึ้นไปบนรถก็เห็นแต่คนขับกับกระเป๋ารถ หลวงพ่อท่านหายไปแล้ว หายไปไหนไปได้อย่างไร ก็ช่างเถอะใบหน้าของท่านผมจดจำตรึงไว้ในดวงจิตแล้วไม่มีลืมท่านแน่ หากท่านรับรู้สิบนิ้วของผมขอกราบว้นทาผมไม่รู้ว่าท่านเป็นใครจริงๆ นึกไม่ออก


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=620 border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 5px; PADDING-LEFT: 5px; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-TOP: 5px" vAlign=top align=left width=155>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2009

แชร์หน้านี้

Loading...